วิเคราะห์โครงสร้างโดยใช้โปรแกรม STAAD.PRO

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน เนื่องจากเนื้อหาในโพสต์ของเมื่อวันก่อนนั้นค่อนข้างได้ครับความสนใจเป็นอย่างมากจากเพื่อนๆ และ หนึ่งในหลายๆ คำถามที่ผมได้รับ คือ หากเราจะนำวิธีการ Ksoil ไป APPLY ใช้ในโปรแกรมวิเคราะห์โครงสรางใดๆ ที่อาจมี หรือ ไม่มี SPRING SUPPORT จะได้หรือไม่ ? ผมขอตอบว่า … Read More

การคำนวณหาค่า Ksoil จากข้อมูลดินโดยใช้สมการอย่างง่าย

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะมาอธิบายต่อจากเนื้อหาเมื่อวาน คือ การคำนวณหาค่า Ksoil จากข้อมูลดินโดยใช้สมการอย่างง่ายนะครับ ก่อนอื่นผมขอทำความเข้าให้ให้ตรงกันเสียก่อนนะครับว่าเหตุใดเราจึงต้องทำการคำนวณหาค่า Ksoil จากข้อมูลดินโดยใช้สมการอย่างง่าย เป็นเพราะว่าในทางทฤษฎีนั้นเรื่องทาง GEOTECHNICAL นั้นเป็นอะไรที่ซับซ้อนพอสมควร การที่จะทำการคำนวณค่าใดๆ จากดินให้แม่นยำถูกต้อง 100% นั้นทำได้ยากมากๆ เราต้องอาศัยข้อมูลงานวิจัย ข้อมูลเชิงทดสอบต่างๆ ประกอบมากมายในการคำนวณ … Read More

การคำนวณการประมาณการขนาดหน้าตัดของคานสำหรับโครงสร้างรับแรงดัดเมื่อต้องใช้กับโครงสร้างที่มีลักษณะเป็น LONG SPAN

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะมายก ตย การคำนวณการประมาณการขนาดหน้าตัดของคานสำหรับโครงสร้างรับแรงดัดเมื่อต้องใช้กับโครงสร้างที่มีลักษณะเป็น LONG SPAN ให้แก่เพื่อนๆ เพื่อดูเป็นแนวทางกันนะครับ โดยวิธีการที่ผมนำมายก ตย จะอยู่ในหัวข้อที่ (3) ในโพสต์เมื่อวานนะครับ ก็คือเราใช้วิธีการโมเมนต์ความเฉือยเทียบเท่า หรือ EQUIVALENT MOMENT OF INERTIA … Read More

วิศวกรรมแผ่นดินไหว

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะมาแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่องวิศวกรรมแผ่นดินไหวต่อเนื่องจากโพสต์เมื่อวานของผมนะครับ เพื่อนๆ ทราบหรือไม่ครับว่าการวิเคราะห์แรงต้านทานแรงกระทำจากแผ่นดินไหว หรือ SEISMIC ANALYSIS นั้นจะแตกต่างไปจากการวิเคราะห์โครงสร้างเนื่องจาก นน บรรทุกประเภทอื่นๆ เช่น นน บรรทุกคงที่ นน บรรทุกจร นน บรรทุกแรงลม เป็นต้น สาเหตุเป็นเพราะว่าแรงกระทำที่เกิดจากแผ่นดินไหวนั้นจะทำให้อาคารเกิดการเคลื่อนที่ในรูปแบบวัฎจักร … Read More

การคำนวณค่าแรงแบกทาน

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกท่านครับ สืบเนื่องจากเมื่อวันก่อนผมได้โพสต์เกี่ยวกับเรื่องค่าแรงแบกทานที่ยอมให้ของดินซึ่งจะมีประโยชน์ก็ต่อเมื่อเรานำค่าๆ นี้ไปออกแบบระบบฐานรากวางบนดิน ก้ได้รับข้อความหลังไมค์มาสอบถามเกี่ยวกับเรื่องๆ นี้พอสมควรนะครับ ผมจึงคิดว่าวันนี้จะมายก ตย ถึงการคำนวณในเรื่องนี้ให้แก่เพื่อนๆ นะครับ มาเริ่มต้นดูรูปที่ 1 ก่อนนะครับ ฐานรากวางบนดินที่เราจะทำการออกแบบนี้มีขนาดความกว้าง 4 m ความยาว 6 m รับ นน … Read More

คำนิยามความสมดุล และ สถานะของสมดุล (EQUILIBRIUM AND STAGE OF EQUILIBRIUM)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้แอดมินมีนิยามที่น่าสนใจจะมาเล่าให้เพื่อนๆ ได้รับทราบกันนะครับ เรื่องๆ นี้ก็คือ เรื่อง คำนิยามของคำ 2 คำ ก็คือ ความสมดุล และ สถานะของสมดุล (EQUILIBRIUM AND STAGE OF EQUILIBRIUM) นั่นเองครับ … Read More

ชนิด และ ประเภท ของ คำว่า BOUNDARY CONDITIONS

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะมาให้คำแนะนำเกี่ยวกับเรื่อง ชื่อ ชนิด และ ประเภท ของ คำว่า BOUNDARY CONDITIONS กันนะครับ เพื่อนๆ อาจจะงงนะครับว่าคำว่า BOUNDARY CONDITIONS นั้นมีประเภทด้วยหรือ คำตอบคือ มีครับ โดยทั่วไปแล้วเราจะรู้จัก … Read More

ค่าโมดูลัสยืดหยุ่นระยะยาวในคอนกรีตทั่วๆ ไป หรือ LONG TERM MODULUS OF ELASTICITY IN NORMAL CONCRETE

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกท่าน เรื่องที่จะนำมาเล่าสู่กันฟังในวันนี้ก็คือ ค่าโมดูลัสยืดหยุ่นระยะยาวในคอนกรีตทั่วๆ ไป หรือ LONG TERM MODULUS OF ELASTICITY IN NORMAL CONCRETE นั่นเองครับ (รูปที่ 1) ก่อนอื่นผมต้องขอท้าวความก่อนนะครับว่าเวลาที่ผมพิจารณาออกแบบโครงสร้าง คสล ที่มีความยาวช่วงมากๆ ที่มีการรับ … Read More

ที่มาที่ไปของสมการที่เราใช้งานกันบ่อยๆ

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะมาขอยก ตย ความรู้พื้นฐานที่เราควรจะทราบที่มาที่ไปของสมการที่เราใช้งานกันบ่อยๆ แต่อาจจะหลงลืมไปกันไปบ้างต่อนะครับ หลังจากเมื่อ 2 วันที่ผ่านมาผมยก ตย ถึงสมการทางด้านกลศาสตร์ของวัสดุไปบ้างแล้ว วันนี้ผมจะขอยก ตย ถึงสมการทางด้านการออกแบบบ้างนะครับ สมการที่เกี่ยวข้องกับงานออกแบบที่ผมต้องการจะหยิบยกมาในวันนี้เกี่ยวข้องกับการออกแบบหน้าตัดโครงสร้าง คสล ที่ต้องรับแรงดัดโดยวิธีหน่วยแรงใช้งานนะครับ เราอาจคุ้นเคยกันดีถึงสมการเหล่านี้ k = … Read More

ค่าโมดูลัสของแรงเฉือน (SHEAR MODULUS) หรือค่าโมดูลัสของความคงรูป (MODULUS OF RIGIDITY)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาตอบคำถามให้แก่เพื่อนของผมท่านหนึ่งบนเฟซบุ้คแห่งนี้ที่เพื่อนท่านนี้ได้หลังไมค์มาให้ผมช่วยอธิบายถึงค่าโมดูลัสของแรงเฉือน (SHEAR MODULUS) หรือค่าโมดูลัสของความคงรูป (MODULUS OF RIGIDITY) ที่เรานิยมเขียนแทนด้วยค่า G นั่นเองครับ ค่าๆ นี้ถือเป็นปริมาณที่มีประโยชน์มากค่าหนึ่งในทางกลสาสตร์ของวัสดุ ซึ่งชื่อของมันก็ชัดเจนอยู่แล้วนะครับว่าหากวัสดุใดที่มีคุณสมบัติค่าๆ นี้ที่สูง ก็ย่อมที่จะมีค่าการต้านทานต่อแรงเฉือนหรือมีคุณสมบัติทางด้านความคงรูปที่สูงตามไปด้วย โดยเราจะสามารถทำการทดสอบหาค่านี้ได้โดยสมมติฐานที่ว่าวัสดุนั้นมีการเสียรูปเป็นไปตามกฎของฮุค (HOOK’S LAW) … Read More

1 33 34 35 36 37 38 39 75