ต้องการต่อเติมบ้าน ในพื้นที่จำกัด เสาเข็มสปันไมโครไพล์ (Spun Micro Pile)ตอบโจทย์ สามารถตอกในที่แคบได้

ต้องการต่อเติมบ้าน ในพื้นที่จำกัด เสาเข็มสปันไมโครไพล์ (Spun Micro Pile)ตอบโจทย์ สามารถตอกในที่แคบได้ หากต้องการต่อเติมอาคาร ต่อเติมบ้านเรือนเดิม แต่มีพื้นที่จำกัด แนะนำเสาเข็มสปันไมโครไพล์ Spun Micro Pile ต่อเติมบ้านใช้พื้นที่น้อย สามารถตอกในพื้นที่แคบ และสามารถตอกชิดกำแพงบ้านได้ ไม่ทำให้โครงสร้างเดิมเสียหาย เพราะมีแรงสั่นสะเทือนน้อย เสาเข็มสปันไมโครไพล์ … Read More

จะสร้างใหม่ หรือต่อเติม เสาเข็มสปันไมโครไพล์ Spun Micro Pile ตอบโจทย์

จะสร้างใหม่ หรือต่อเติม เสาเข็มสปันไมโครไพล์ Spun Micro Pile ตอบโจทย์ ต้องการเสาเข็มเพื่อฐานรากอาคารใหม่ หรือต่อเติมแบบเร่งด่วน ทำงานในเมืองได้ แนะนำเลือกใช้ เสาเข็มสปันไมโครไพล์แท้ ภูมิสยาม เพราะเสาเข็มสปันแท้มีความแข็งแกร่งสูง สามารถถึงชั้นทรายแข็งได้ รองรับการก่อสร้างอาคาร4-5ชั้นได้ ตามที่วิศวกรออกแบบ งานสะดวกรวดเร็วได้มาตรฐานการตอกตาม ISO 9001:2015 … Read More

เสาเข็มไมโครไพล์ ตอกในที่แคบไม่มีผลกระทบต่อกำแพงและกระจก

เสาเข็มไมโครไพล์ ตอกในที่แคบไม่มีผลกระทบต่อกำแพงและกระจก ต้องการต่อเติมบ้านแต่มีพื้นที่จำกัด เสาเข็มสปันไมโครไพล์ Spun Micro Pile ตอบโจทย์ สามารถตอกในที่แคบ ชิดกำแพงที่มีกระจกได้ มีแรงสั่นสะเทือนน้อย ไม่ทำให้โครงสร้างเดิมเสียหาย ต้องการเสาเข็มคุณภาพ ตอกในที่แคบ ชิดกระจก ปรึกษา ภูมิสยาม เราพร้อมบริการและให้คำปรึกษา Miss Spunpile  … Read More

สร้างอาคารใหม่ เสาเข็ม spun micropile ตอบโจทย์การก่อสร้าง

สร้างอาคารใหม่ เสาเข็ม spun micropile ตอบโจทย์การก่อสร้าง จะสร้างอาคาร 4 ชั้น ในพื้นที่โล่ง เสาเข็มสปันไมโครไพล์ สามารถตอบโจทย์ได้ เพราะเสาเข็มได้มาตรฐานและเป็นที่ยอมรับ และเสาเข็มเรามีหลายขนาดให้เลือก สามารถตอบโจทย์การรับน้ำหนัก ตามที่วิศวกรออกแบบได้ Miss Spunpile  Bhumisiam (ภูมิสยาม) บริษัท … Read More

ดาเนียล แบร์นูลลี นักคณิตศาสตร์แห่งศตวรรษที่ 18

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้บุคคลคนที่สองที่ผมนำประวัติของท่านมาเล่าสู่กันฟังกับเพื่อนๆ นั้นเป็นนักคณิตศาสตร์ผู้ยิ่งใหญ่อีกท่านหนึ่งแห่งศตวรรษที่ 18 เลยนะครับ นั่นก็คือ ดาเนียล แบร์นูลลี ดาเนียล แบร์นูลลี เกิดเมื่อวันที่ 8 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1700 ณ เมือง Groningen ประเทศเนเธอร์แลนด์ … Read More

การออกแบบแผ่นพื้น 2 ทาง คสล

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขอมาตอบปัญหาให้กับน้องวิศวกรมือใหม่ท่านหนึ่งที่ถามหลังไมค์กับผมเกี่ยวกับเรื่องการออกแบบแผ่นพื้น 2 ทาง คสล นะครับ และ ผมเห็นว่าน่าจะมีประโยชน์จึงนำมาแชร์เป็นความรู้แก่เพื่อนๆ ในวันนี้ด้วยครับ ตอนที่น้องเรียนพี่เข้าใจว่าน้องคงจะได้เรียนเฉพาะแผ่นพื้น ทางแบบที่มีคานรองรับ หรือ ที่มีชื่อเรียกว่า RC SLAB ON BEAM ใช่มั่ยครับ ? … Read More

อัตราส่วนของเหล็กเสริมในหน้าตัดคอนกรีต

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมมีข้อคิดสำคัญประการหนึ่งในการออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง คสล มาฝากเพื่อนๆ ทุกๆ คนนะครับ นั่นก็คือ อัตราส่วนของเหล็กเสริมในหน้าตัดคอนกรีตนั่นเองครับ เพื่อนๆ อาจจะเข้าใจว่าในโครงสร้าง คสล นั้นยิ่งเราเสริมเหล็กในปริมาณที่มากๆ ก็จะยิ่งดี ยิ่งจะทำให้โครงสร้างของเรานั้นมีความแข็งแรงในโครงสร้างมาก และ หากเพื่อนๆ ยังมีความเชื่อด้วยว่าหากทำการเสริมเหล็กในปริมาณที่ถือว่าน้อย จะเป็นการทำให้โครงสร้างนั้นอ่อนแอ ไม่แข็งแรงเท่าที่ควร … Read More

การตัดหัวเสาเข็ม หรือ PILE CUT OFF

สวัสดีครับเพื่อนๆ ที่รักทุกท่าน เนื่องจากเมื่อวันก่อนไปตลุยดูงานที่ไซต์มาและทางเจ้าของงานนำเคสของการทำงานเคสหนึ่งมาปรึกษาผม เห็นว่าน่าสนใจและน่าที่จะมีประโยชน์ต่อเพื่อนๆ จึงนำมาบอกเล่าเก้าสิบกันนครับ เรื่องที่ว่านี้ก็คือเรื่อง การตัดหัวเสาเข็ม หรือ PILE CUT OFF นั่นเองนะครับ ก่อนอื่นผมขออธิบายคร่าวๆ แก่เพื่อนๆ บางคนก่อนนะครับว่าเหตุใดจึงต้องมีการทำงานตัดหัวเสาเข็ม ? การตัดหัวเสาเข็มนั้นจะทำก็ต่อเมื่อทางผู้รับจ้างได้ทำการสอบถามระดับพื้นชั้นล่างของอาคารร่วมกันกับแบบสถาปัตยกรรมและแบบวิศวกรรมโครงสร้างแล้วจะทำให้ทราบว่าตำแหน่งของฐานรากจะอยุ่ที่ระดับความสูงใด หากพบว่าระดับหัวของเสาเข็มของเรานั้นอยุ่สูงกว่าระดับที่ต้องการจึงจำเป็นที่จะต้องทำการตัดหัวเสาเข็มนี้ทิ้งไปครับ เพื่อนๆ เคยสงสัยมั้ยครับว่าเหตุใดเค้าถึงใช้คำว่า … Read More

วิศวกรรมงานสะพาน หรือ BRIDGE ENGINEERING

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขอมาเล่าให้เพื่อนๆ ได้รู้จักกันถึงอีกแขนงหนึ่งของสาขาวิชาวิศวกรรมโครงสร้าง เผื่อเพื่อนๆ ท่านใดสนใจข้อมูลในวันนี้ก็น่าที่จะมีประโยชน์นะครับ สาขาวิชานี้ก็คือ วิศวกรรมงานสะพาน หรือ BRIDGE ENGINEERING นั่นเองครับ เพื่อนๆ หลายๆ คนอาจจะงงว่ามีวิชาแขนงนี้ด้วยหรือ ? ผมขอตอบตรงนี้เลยนะครับว่า มี ครับ เพราะในงานออกแบบของวิชาแขนงนี้ต้องอาศัยทั้ง … Read More

ประมาณค่า STIFFNESS จากค่าโมเมนต์ความเฉื่อยประสิทธิผล I eff และ ค่าพื้นที่หน้าตัดประสิทธิผล A eff

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน เนื่องจากเมื่อวันก่อนที่ผมได้อธิบายไปเกี่ยวกับเรื่องการคำนวณหาค่าการเสียรูปในโครงสร้าง คสล และเมื่อวานนี้มีน้องวิศวกรท่านหนึ่งได้หลังไมค์มาถามผมเกี่ยวกับเรื่องๆ นี้พอดี ผมเห็นว่าเนื้อหานั้นน่าสนใจจึงตัดสินใจนำมาบอกเล่าต่อแก่เพื่อนๆ ด้วยนะครับ น้องท่านนี้ถามผมว่า จากที่ผมได้ระบุว่าวิธีการประมาณค่า STIFFNESS ตาม มยผ 1302 หน้าที่ 50 โดยใน มยผ ได้ระบุเอาไว้ว่า การกำหนดค่า … Read More

1 32 33 34 35 36 37 38 75