สมการในการคำนวณหาหน่วยแรงลมสถิตเทียบเท่า

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆท่าน ในวันนี้ผมอยากที่จะขออนุญาตมาแชร์และเล่าถึงประเด็นที่มีความสำคัญมากประการหนึ่งที่มีความเกี่ยวข้องกับการวิเคราะห์แรงกระทำทางด้านข้างแก่โครงสร้างของอาคารอันเนื่องมาจากแรงลมให้แก่เพื่อนๆ ได้ทราบกันนะครับ หัวข้อนั้นก็คือ สมการในการคำนวณหาหน่วยแรงลมสถิตเทียบเท่า ซึ่งเป็นรูปแบบการคำนวณแรงลมตามมาตรฐานฉบับใหม่ของกรมโยธาธิการและผังเมืองนะครับ โดยหากอ้างอิงตาม มยผ 1311-50 หรือ มาตรฐานการคำนวณแรงลมและการตอบสนองของอาคารนะครับ หากเรามาดูสมการในการคำนวณหาหน่วยแรงลมสถิตเทียบเท่าจะพบว่าหน้าตาของสมการนี้เป็นดังต่อไปนี้นะครับ P = Iw q Ce Cg Cp ในวันนี้ผมอยากที่จะขออนุญาตมาขยายความถึงค่า … Read More

วิธีในการวิเคราะห์โครงสร้าง (STRUCTURAL ANALYSIS) โดยวิธีประมาณการ (APPROXIMATE METHOD)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาให้คำแนะนำกับเพื่อนๆ ให้ได้ทราบกันถึงวิธีในการวิเคราะห์โครงสร้าง (STRUCTURAL ANALYSIS) โดยวิธีประมาณการ (APPROXIMATE METHOD) นะครับ โดยในวันนี้โครงสร้างที่ผมจะมากล่าวถึงนั้นก็คือโครงสร้างโครงข้อแข็ง (PORTAL FRAME) กันนะครับ โดยปกติแล้วโครงสร้าง PORTAL FRAME นั้นมักที่จะถูกใช้เป็นองค์อาคารหลักของโครงสร้างเพื่อทำการถ่ายแรงกระทำ ทางด้านข้างของโครงสร้างซึ่งมักจะเกิดจากแรงลมหรือแรงแผ่นดินไหวให้ถ่ายลงไปสู่ตัวฐานรากของโครงสร้าง ซึ่งเราสามารถที่จะทำการจำแนกการวิเคราะห์โครงสร้าง … Read More

เสาเข็มสปันไมโครไพล์ (Spun Micro Pile) เสาเข็มต่อเติมบ้าน ไม่มีผลกระทบต่อโครงสร้างเดิม แม้อยู่ใกล้กระจก

เสาเข็มสปันไมโครไพล์ (Spun Micro Pile) เสาเข็มต่อเติมบ้าน ไม่มีผลกระทบต่อโครงสร้างเดิม แม้อยู่ใกล้กระจก ต้องการต่อเติมบ้าน แต่ติดปัญหาเรื่องกระจก เสาเข็มสปันไมโครไพล์ Spun Micro Pile ตอบโจทย์คุณได้ เพราะในขณะตอกมีแรงสั่นสะเทือนน้อย สามารถตอกชิดกำแพงหรือใกล้กระจกได้ ไม่ทำให้เกิดความเสียหาย คิดจะต่อเติมบ้าน แนะนำ เสาเข็มสปันไมโครไพล์ … Read More

วิธีการออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้างเหล็ก

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ช่วงหลายวันที่ผ่านมานั้นผมได้ไปตรวจงานที่หน้างานซึ่งอยู่ในโครงการก่อสร้างโครงการหนึ่งนะครับ ในโครงการนี้ผมได้ทำการออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้างโดยใช้โครงสร้างเหล็กเป็นโครงสร้างหลักนะครับ ในโครงการนี้ผมพบว่าวิศวกรผู้ควบคุมงานของทาง ผรม นั้นเป็นรุ่นน้องวิศวกรที่จบการศึกษามาจากมหาวิทยาลัยเก่าของผมเอง เมื่อน้องท่านนี้ทราบว่าผมเป็นรุ่นพี่ก็ดีใจใหญ่ เค้าเลยฝากคำถามมายังผม 2 เรื่องด้วยกัน ผมเห็นว่าคำตอบต่อคำถามทั้งสองข้อนี้น่าที่จะมีประโยชน์ต่อเพื่อนๆ ทุกๆ ท่านด้วยนะครับ ในวันนี้ผมจึงตัดสินใจจะมาตอบคำถามของน้องท่านนี้นะครับ คำถามข้อแรก คือ น้องท่านนี้สอบถามผมว่า เค้าเคยศึกษาวิธีการออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้างเหล็กโดยวิธี ALLOWABLE … Read More

สิ่งที่มักจะลืม ในการออกแบบโครงหลังคา TRUSS เหล็ก

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะมาแชร์ความรู้ที่สำคัญประการหนึ่งที่วิศวกรออกแบบหลายๆ ท่านมักจะลืมเวลาที่ทำการออกแบบโครงหลังคา TRUSS เหล็ก นั่นก็คือเรื่อง BRACING นั่นเองครับ หากพิจารณาถึงเนื้อที่หน้าตัดของโครงสร้างที่มีขนาดเท่าๆ กันระหว่างวัสดุ คอนกรีต และ เหล็ก จะพบว่าวัสดุคอนกรีตนั้นจะมีความแข็งแรงที่น้อยกว่าโครงสร้างเหล็กอยู่ประมาณ 10 เท่านะครับ ดังนั้นหากเราทำการออกแบบโครงสร้างด้วยวัสดุที่เป็นเหล็ก เราจะพบว่าชิ้นส่วนของโครงสร้างที่ใช้ในองค์อาคารของเราจะมีขนาดที่ค่อนข้างเล็ก ทำให้โครงสร้างเหล็กนั้นจะมีสัดส่วนที่ค่อนข้างจะมีความชะลูดที่มากกว่าโครงสร้างคอนกรีต … Read More

เพราะเหตุใด เมื่อเพิ่มความหนาของฐานรากให้หนามากขึ้น จึงทำให้การกระจายตัวของแรงปฏิกิริยาในเสาเข็ม ออกมามีค่าใกล้เคียงกัน มากกว่าการเลือกใช้ความหนาที่น้อยกว่า ?

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน สืบเนื่องจากโพสต์ของผมเมื่อวานผมพบว่ามีเพื่อนๆ หลายคนของเราสนใจกันเป็นพิเศษ โดยคำถามที่ผมได้รับตามมาก็ คือ เพราะเหตุใด เมื่อใดที่เราเพิ่มความหนาของฐานรากให้ค่อนข้างที่จะมีความหนามากขึ้น จึงทำให้การกระจายตัวของแรงปฏิกิริยาในเสาเข็มนั้นออกมามีค่าใกล้เคียงกัน มากกว่าการเลือกใช้ความหนาที่น้อยกว่า ? ผมขออนุญาตตอบตามหลักการที่เพื่อนๆ สามารถที่จะเข้าใจได้ด้วยภาษาบ้านๆ แบบนี้แล้วกันนะครับว่า เหตุผลที่ง่ายและตรงไปตรงมาที่สุด คือ การใช้ความหนาที่หนาจะทำให้ STIFFNESS หรือ ความแข็งแกร่ง … Read More

แรงดันของน้ำใต้ดิน หรือ UPLIFT FORCE

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน เนื่องด้วยเมื่อวานนี้มีเพื่อนวิศวกรของผมท่านหนึ่ง จริงๆ เรารู้จักกัน และ เป็นเพื่อนรักของผมมายาวนานมากตั้งแต่สมัยเรียน ปวช ที่ช่างมีน ท่านได้ทักมาหาผม และ ได้ขอคำปรึกษาเกี่ยวกับเรื่องการออกแบบสระว่ายน้ำ ผมก็ได้ให้คำแนะนำไปตามที่เห็นสมควร พร้อมกับกำชับถึงสิ่งสำคัญอย่างหนึ่งที่ผู้ออกแบบอย่างเราๆ จะลืมไม่ได้เลย คือ ปัจจัยที่ผู้ออกแบบหลายๆ คนมักจะลืมคำนึงถึงในการออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้างสระว่ายน้ำก็คือเรื่อง แรงดันของน้ำใต้ดิน หรือ … Read More

ความจำเป็นในการเสริมเหล็กรับแรงเฉือนในแผ่นพื้นคอนกรีตแบบไร้คาน

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะมาแชร์ความรู้แก่เพื่อนๆ ในเรื่อง ความจำเป็นในการเสริมเหล็กรับแรงเฉือนในแผ่นพื้นคอนกรีตแบบไร้คาน กันนะครับ โดยปกติแล้วหากเราทำการออกแบบแผ่นพื้นคอนกรีตแบบไร้คาน เนาจำเป็นจะต้องทำการออกแบบให้กำลังของแผ่นพื้นนั้นมีค่าสูงกว่าค่า นน บรรทุกแบบเพิ่มค่าที่กระทำกับแผ่นพื้นสำหรับทุกๆ MODE OF FAILURE นะครับ หนึ่งในนั้นก็คือ TWO WAY SHEAR FAILURE หรือ … Read More

ต้องการเสาเข็มต่อเติมภายในอาคาร หรือในพื้นที่จำกัด แนะนำ เสาเข็มสปันไมโครไพล์ (Spun Micro Pile)

ต้องการเสาเข็มต่อเติมภายในอาคาร หรือในพื้นที่จำกัด แนะนำ เสาเข็มสปันไมโครไพล์ (Spun Micro Pile) ต่อเติมภายในอาคาร ด้วยเสาเข็มสปันไมโครไพล์ จากภูมิสยาม สามารถตอกภายในอาคาร ในพื้นที่จำกัดได้ เพราะเป็นเสาเข็มที่มีคุณภาพสูง เข้าทำงานในที่แคบได้ และขณะตอกมีแรงสั่นสะเทือนน้อย ทำให้ไม่กระทบโครงสร้างเดิม ป้องกันการทรุดตัวของโครงสร้างอาคาร บริการตอกเสาเข็มสปันไมโครไพล์ เสาเข็มคุณภาพ รับน้ำหนักปลอดภัย … Read More

การใช้งานเครื่องคำนวณ

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขอมาแชร์ความรู้โดยการเล่าเสี้ยวหนึ่งของประสบการณ์ในการใช้งานเครื่องคำนวณให้แก่เพื่อนๆ และน้องๆ วิศวกรที่อาจจะกำลังเริ่มต้นงานการคำนวณทางด้านวิศวกรรมและอาจจะกำลังมองหาเครื่องมือหรือตัวช่วยในการคำนวณสักเครื่องอยู่นะครับ เพื่อนๆ หลายๆ คนคงจะทราบดีว่าผมนั้นใช้เครื่องคิดเลขยี่ห้อ TEXAS INSTRUMENT เป็นหลักแต่น้อยคนนักที่จะทราบว่าก่อนหน้านั้นผมเองก็เคยเป็นวิศวกรคนหนึ่งที่เคยเริ่มต้นงานคำนวณในสายงานวิศวกรรมโดยใช้เครื่องคิดเลขยี่ห้อ CASIO นะครับ ผมใช้ CASIO หลายรุ่นอยู่พักใหญ่ๆ เลยนะครับ เพราะตั้งต้นเรียนวิชาช่างก่อสร้างในระดับ ปวช เป็นใครในยุคผมก็ต้องใช้เครื่องยี่ห้อ … Read More

1 30 31 32 33 34 35 36 75