ระบบวิศวกรรมโครงสร้างคอนกรีตอัดแรง (PRESTRESSED CONCRETE SYSTEM)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะมาตอบคำถามของรุ่นพี่วิศวกรท่านหนึ่งที่เคยถามผมมาก่อนหน้านี้เกี่ยวกับเรื่อง ระบบวิศวกรรมโครงสร้างคอนกรีตอัดแรง (PRESTRESSED CONCRETE SYSTEM) นั่นเองนะครับ โดยคำถามมีอยู่ว่า “ระบบพื้น POST-TENSIONED ที่มักจะทำการออกแรงดึงลวดที่ 75% ของค่าแรงดึงสูงสุดนั้น เพราะเหตุใดจึงต้องทำการออกแรงดึงที่ค่าๆ นี้ และ จะดึงด้วยค่าอื่นที่อาจต่ำ หรือ สูงกว่าค่าๆ นี้ได้หรือไม่ ?” … Read More

วิธีการแก้ไขงานวิศวกรรมฐานราก

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะมาตอบคำถามของรุ่นพี่วิศวกรของผมท่านหนึ่งที่ได้สอบถามผมมาเกี่ยวกับวิธีในการแก้ไขงานวิศวกรรมฐานรากนะครับ กรณีปัญหามีอยู่ว่า หากทำการตอกเสาเข็มในฐานรากที่ใช้เสาเข็มจำนวน 2 ต้น (F2) แล้วเสาเข็มต้นใดต้นหนึ่งเกิดเสียหายไป จะทำการแก้ไขโดยการหมุนฐานรากในระนาบ 90 องศา ได้เลยหรือไม่ครับ ? ผมขอตอบแบบนี้นะครับ คือ ได้ และ ไม่ได้ ครับ งง … Read More

การหาความเค้นดัดในคาน

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการอธิบายแก่เพื่อนๆ ถึงหัวข้อสำคัญในการพิจารณาเรื่อง MECHANICS OF MATERIALS นะครับนั่นก็คือหัวข้อ FLEXURAL FORMULA ในเรื่อง STRESSES IN BEAM นั่นเองนะครับ สาเหตุที่ผมหยิบยกเรื่องๆ นี้มาฝากแก่เพื่อนๆ เพราะว่าผมเห็นว่าในหลายๆ ครั้งเพื่อนๆ มักไม่ได้นำความรู้ … Read More

ทิศทางในการวางหน้าตัดของเสาเข็มที่ถูกต้อง

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆท่าน หัวข้อที่ผมจะขออนุญาตมาให้คำแนะนำกับเพื่อนๆ รวมไปถึงน้องวิศวกรท่านหนึ่งที่เคยฝากคำถามกับผมในวันนี้จริงๆ แล้วอาจไม่ถือว่าเกี่ยวเนื่องกันกับเรื่อง วิธีการแก้ปัญหาในกรณีที่ในการทำงานการตอกเสาเข็มนั้นไม่เป็นไปตามที่ผู้ออกแบบได้ทำการกำหนดไว้ สักเท่าใดนักนะครับ เพราะ หัวข้อในวันนี้ คือ ทิศทางในการวางหน้าตัดของเสาเข็มที่ถูกต้อง นั่นเองครับ สำหรับ ทิศทางในการวางหน้าตัดของเสาเข็มที่ถูกต้อง นั้นผมต้องขออธิบายเสียก่อนนะครับปัญหาจะเกิดขึ้นก็ต่อเมื่อ (1) หน้าตัดของเสาเข็มของเรานั้นเป็นแบบ ไม่สมมาตรใน แกนใดแกนหนึ่ง หรือ ทุกๆ … Read More

ฐานรากที่ต้องการมาตรฐานสูง ต้องเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ (Spun Micropile) ภูมิสยาม

ฐานรากที่ต้องการมาตรฐานสูง ต้องเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ (Spun Micropile) ภูมิสยาม เสาเข็มคุณภาพที่เหมาะสำหรับการต่อเติม ขยายโรงงาน หรือสร้างใหม่แนะนำสปันไมโครไพล์แท้โดยภูมิสยาม เสาเข็มมีคุณภาพสูงจากการสปัน และมีมาตรฐาน มอก. 397-2524 สามารถตอกรับพื้นได้ถึงชั้นดินดาน เสาเข็มเราเป็นที่ยอมรับโดยบริษัทชั้นนำ ต้องการเสาเข็มเพื่อฐานรากโครงสร้างที่ได้มาตรฐานสูง ต้องเสาเข็ม สปันไมโครไพล์แท้ โดยภูมิสยาม Miss … Read More

เสาเข็มสปันไมโครไพล์ (Spun Micro Pile) เสาเข็มต่อเติมบ้าน สามารถตอกชิดกำแพงได้ 50ซม.

เสาเข็มสปันไมโครไพล์ (Spun Micro Pile) เสาเข็มต่อเติมบ้าน สามารถตอกชิดกำแพงได้ 50ซม. ต้องการต่อเติมบ้าน ต่อเติมหน้าบ้าน หลังบ้าน หรือข้างบ้าน แนะนำ เสาเข็มสปันไมโครไพล์ (Spun Micro Pile) สามารถตอกชิดกำแพงได้ 50 ซม. จากเซ็นเตอร์เสาเข็มถึงกำแพง … Read More

วิธีในการคำนวณหาค่า LATERAL STIFFNESS ในโครงสร้างเสาเข็ม(โดยการประมาณค่า) กรณีที่ต้องการจะทำการออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้างฐานรากโดยอาศัยเสาเข็มแบบ SOIL SPRING

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาให้คำแนะนำกับเพื่อนๆ รวมไปถึงน้องวิศวกรท่านหนึ่งที่ได้ฝากคำถามกับผมมาเกี่ยวกับเรื่อง วิธีในการคำนวณหาค่า LATERAL STIFFNESS ในโครงสร้างเสาเข็ม (โดยการประมาณค่า) ในกรณีที่เราต้องการที่จะทำการออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้างฐานรากโดยอาศัยเสาเข็มแบบ SOIL SPRING นะครับ อย่างที่ผมเคยให้คำแนะนำกับเพื่อนๆ ไปก่อนหน้านี้นะครับว่า ในทางทฤษฎีแล้วในการที่เราจะทำการจำลองให้เสาเข็มนั้นมีค่า LATERAL STIFFNESS สำหรับกรณีที่เราต้องการที่จะทำการออกแบบให้เสาเข็มนั้นมีพฤติกรรมเป็น SOIL SPRING … Read More

ตัวอย่าง การระมัดระวังไม่ให้ชิ้นส่วนโครงสร้างเหล็ก(โครงถัก)เกิดการเยื้องศูนย์ ผิดไปจากที่ทำการออกแบบไว้ในตอนแรก

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆท่าน วันนี้ผมอยากจะขออนุญาตมาพูดต่อเนื่องจากโพสต์ของเมื่อวานที่มีความเกี่ยวกับ ประเด็นสำคัญๆ ที่เราควรที่จะทำการพิจารณาเวลาที่ทำการออกแบบและการทำงานก่อสร้างงานวิศวกรรมโครงสร้างเหล็กแก่เพื่อนๆ กันนะครับ ซึ่งประเด็นในวันนี้ก็ยังคงเกี่ยงข้องกับเรื่อง การที่เราควรที่จะระมัดระวังมิให้ชิ้นส่วนโครงสร้างเหล็กที่เป็นโครงถักนั้นเกิดการเยื้องศูนย์ออกไปผิดไปจากการที่เราได้ทำการออกแบบไว้ตั้งแต่ในตอนแรกนะครับ โดยในวันนี้ผมหยิบยก ตย ขึ้นมาให้แก่เพื่อนๆ ได้รับชมกันด้วย เพื่อนๆ จะได้สามารถที่จะเข้าใจได้ง่ายยิ่งขึ้นด้วยนะครับ อย่างที่ผมเรียนไปในโพสต์ที่แล้วนะครับว่า ที่มาของปัญหานี้ คือ เวลาที่ผู้ออกแบบทำการสร้างแบบจำลองทางคณิตศาสตร์ขึ้นมาเพื่อทำการวิเคราะห์และออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้างโครงถักเหล็ก เรามักที่จะทำการจำลองให้ตำแหน่งของศูนย์กลางถึงศูนย์กลางของชิ้นส่วนโครงสร้างนั้นตรงกัน แต่ ในสภาพความเป็นจริงเวลาที่ช่างทำการก่อสร้างโครงสร้างเหล็กมักที่จะทำงานโดยอาศัยความง่ายในการทำงานเอาไว้ก่อน … Read More

การแก้ไขปัญหางานโครงสร้างฐานรากที่ใช้ระบบเสาเข็มในการก่อสร้าง

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆท่าน ผมจะขออนุญาตมาแชร์ความรู้ให้แก่เพื่อนๆ ต่อจากเมื่อวานเกี่ยวเนื่องกับการแก้ไขปัญหางานโครงสร้างฐานรากที่ใช้ระบบเสาเข็มในการก่อสร้างนะครับ โดยในวันนี้จะเป็นการตอบคำถามของเพื่อนวิศวกรท่านหนึ่งที่ทิ้งคำถามไว้พักใหญ่แล้วนะครับ ซึ่งโพสต์ๆ นี้น่าที่จะเป็นโพสต์สุดท้ายเกี่ยวกับเรื่องๆ นี้สำหรับหัวข้อนี้ก่อนนะครับ เพราะ ผมมีคิวที่จะต้องโพสต์เพื่อตอบปัญหาแก่เพื่อนๆ อีกหลายเรื่องเลยน่ะครับ หากเพื่อนๆ ท่านใดมีความสนใจก็สามารถที่จะติดตามอ่านกันได้นะครับ ปัญหาที่ผมจะนำมาถกกัน และ เล่าให้เพื่อนๆ ฟังกันในวันนี้ คือ หากฐานรากของเราใช้เสาเข็มจำนวนเพียง 2 ต้น … Read More

สมการในการคำนวณหาหน่วยแรงลมสถิตเทียบเท่า(ต่อ)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆท่าน ในวันนี้ผมอยากที่จะขออนุญาตมาแชร์และเล่าถึงประเด็นที่มีความสำคัญมากประการหนึ่งที่มีความเกี่ยวข้องกับการวิเคราะห์แรงกระทำทางด้านข้างแก่โครงสร้างของอาคารอันเนื่องมาจากแรงลมให้แก่เพื่อนๆ ได้ทราบกันนะครับ หัวข้อนั้นก็คือ สมการในการคำนวณหาหน่วยแรงลมสถิตเทียบเท่า ซึ่งเป็นรูปแบบการคำนวณแรงลมตามมาตรฐานฉบับใหม่ของกรมโยธาธิการและผังเมืองนะครับ โดยหากอ้างอิงตาม มยผ 1311-50 หรือ มาตรฐานการคำนวณแรงลมและการตอบสนองของอาคารนะครับ หากเรามาดูสมการในการคำนวณหาหน่วยแรงลมสถิตเทียบเท่าจะพบว่าหน้าตาของสมการนี้เป็นดังต่อไปนี้นะครับ P = Iw q Ce Cg Cp ในวันนี้ผมอยากที่จะขออนุญาตมาขยายความถึงค่า … Read More

1 29 30 31 32 33 34 35 75