หลักการที่จะมีประสิทธิภาพมากที่สุดในการที่เราจะเรียนรู้วิชาทางด้านกลสาสตร์โครงสร้างให้เก่ง

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การคำนวณทางด้านกลศาสตร์โครงสร้าง (STRUCTURAL MECHANICS COMPUTATION หรือ SMC) นะครับ เนื่องจากเมื่อเร็วๆ นี้มีน้องนักศึกษาวิศวกรรมโยธาท่านหนึ่งได้ทักผมมาหลังไมค์ว่า “เนื่องจากที่ผ่านมาผมเคยเห็นอาจารย์โพสต์และแชร์ความรู้แก่เพื่อนๆ ถึงเรื่อง หลักการ และ วิธีการ ในการวิเคราะห์โครงสร้างต่างๆ อยู่เรื่อยๆ เสมอมา เป็นเกร็ดเล็กเกร็ดน้อยบ้าง เป็นเนื้อหาที่ค่อนข้างจะชัดเจนและตรงประเด็นบ้าง … Read More

การเลือกปรับเปลี่ยนรูปทรงที่ “มุม” ของอาคารที่ต้องทำการออกแบบ

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง การออกแบบงานวิศวกรรมลมและแผ่นดินไหว (WIND & SEISMIC ENGINEERING DESIGN หรือ WSE) นะครับ เพื่อนๆ เคยหรือไม่ครับที่ต้องทำการออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้างอาคารสูง (TALL BUILDING) และ ก็พบว่าแรงลม (WIND LOAD) … Read More

ในการออกแบบ TRUSS เวลาหาแรงใน MEMBER เราจะได้ค่า แรงดึง กับ แรงอัด แล้วมีโครงสร้าง TRUSS ใดที่จะต้องทำหน้าที่ในการรับ MOMENT ?

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง เหล็กรูปพรรณ (STRUCTURAL STEEL ENGINEERING DESIGN หรือ SSE) นะครับ วันนี้ผมจะขออนุญาตมาตอบคำถามที่รุ่นน้องวิศวกรออกแบบโครงสร้างของผมท่านหนึ่งได้กรุณาฝากคำถามกับผมว่า “อาจารย์ครับ นอกจากค่า DEFLECTION แล้วเรายังจะต้องตรวจสอบอะไรบ้างในการออกแบบโครงสร้าง ? เพราะ ผมเห็นอาจารย์พูดถึงเรื่อง … Read More

การวิเคราะห์โครงสร้างชนิด STATICALLY INDETERMINATE โดยทฤษฎี LEAST WORK

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การคำนวณทางด้านกลศาสตร์โครงสร้าง (STRUCTURAL MECHANICS COMPUTATION หรือ SMC) นะครับ ในวันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการพูดและอธิบายต่อพร้อมกับยก ตย ให้เพื่อนๆ ได้รับทราบกันต่อถึงหัวข้อการวิเคราะห์โครงสร้างชนิด STATICALLY INDETERMINATE โดยทฤษฎี LEAST WORK นะครับ โดยที่ในวันนี้ผมจะมายก ตย … Read More

ระดับของการสั่นสะเทือน ที่ยอมให้นำมาใช้ในการออกแบบฐานรากรองรับเครื่องจักร

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบวิศวกรรมพลศาสตร์ (STRUCTURAL DYNAMICS ENGINEERING หรือ SDE) นะครับ สืบเนื่องจากการที่มีน้องๆ ได้แจ้งความจำนงมาที่หลังไมค์ว่า อยากให้ผมได้นำเสนอและเล่าถึงเนื้อหาเกี่ยวกับการออกแบบทางด้านพลศาสตร์ที่มีความเกี่ยวข้องกันกับการออกแบบฐานรากรองรับเครื่องจักร (DESIGN OF MACHINE FOUNDATION) ให้ได้รับทราบกันบ้าง ตัวของผมเองก็เล็งเห็นว่าน่าที่จะมีประโยชน์ จึงคิดว่ามีความคุ้มค่าที่จะสละเวลามาเล่าและแชร์ความรู้ในเรื่องๆ นี้ให้แก่น้องๆ … Read More

การคำนวณทางด้านกลศาสตร์โครงสร้าง (STRUCTURAL MECHANICS COMPUTATION หรือ SMC)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การคำนวณทางด้านกลศาสตร์โครงสร้าง (STRUCTURAL MECHANICS COMPUTATION หรือ SMC) นะครับ วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการตอบคำถามให้แก่น้องวิศวกรออกแบบมือใหม่ท่านหนึ่งที่ได้สอบถามผมมาหลังไมค์ว่า “สังเกตดูพี่ๆ วิศวกรรุ่นใหญ่ๆ ในออฟฟิศเวลาทำการออกแบบคาน คสล หรือ เหล็ก ก็ตามเหตุใดพอพี่ๆ เค้าทำการรวม นน บรรทุกแบบแผ่ (DISTRIBUTED … Read More

การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง คอนกรีต (STRUCTURAL CONCRETE ENGINEERING DESIGN หรือ SCE)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง คอนกรีต (STRUCTURAL CONCRETE ENGINEERING DESIGN หรือ SCE) นะครับ วันนี้ผมอยากที่จะขออนุญาตมาทำการตอบคำถามที่มีแฟนเพจของผมท่านหนึ่งได้กรุณาสอบถามผมมาหลังไมค์ว่า “หากสังเกตสมการจากมาตรฐาน ACI หรือ EIT เพราะเหตุใดเวลาที่เรานำค่ากำลังอัดประลัยของคอนกรีตจาก ตย รูปทรงกระบอกมาตรฐานที่อายุ 28 วัน … Read More

การใช้สารเคมีเข้าช่วยในการทำงานคอนกรีต

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง คอนกรีต (STRUCTURAL CONCRETE ENGINEERING DESIGN หรือ SCE) นะครับ เพื่อนๆ เคยพบเจอกับเหตุการณ์เช่นนี้หรือไม่ครับ ? คือ เรามีโครงสร้างคอนกรีตเดิมอยู่ แต่ มีความจำเป็นที่จะต้องทำงานคอนกรีตใหม่ลงไปบนโครงสร้างคอนกรีตเดิมนี้ เช่น มีความจำเป็นที่จะต้องทำการแก้ไขงาน … Read More

การออกแบบวิศวกรรมงานดินและฐานราก (GEOTECHNICAL & FOUNDATION ENGINEERING DESIGN หรือ GFE)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบวิศวกรรมงานดินและฐานราก (GEOTECHNICAL & FOUNDATION ENGINEERING DESIGN หรือ GFE) นะครับ เพื่อนๆ เคยพบเจอกับเหตุการณ์เช่นนี้หรือไม่ครับ ? นั่นก็คือ เพื่อนๆ มีความต้องการที่จะทำการก่อสร้างเสาเข็มเจาะ (BORED PILE) แต่ … Read More

ตอกเสาเข็มต่อเติมโรงงาน แนะนำใช้ เสาเข็มสปันไมโครไพล์แท้ (Spun Micro Pile) โดย ภูมิสยาม

ตอกเสาเข็มต่อเติมโรงงาน แนะนำใช้ เสาเข็มสปันไมโครไพล์แท้ (Spun Micro Pile) โดย ภูมิสยาม จะต่อเติมเสริมฐานรากขยายอาคาร ขยายโรงงาน รับฐานเครื่องจักร แนะนำใช้เสาเข็มสปันไมโครไพล์แท้ มาตรฐาน มอก. 397-2524 สามารถรับน้ำหนักได้อย่างปลอดภัย ตามหลักวิศวกรรม โดยเสาเข็มมีความมั่นคงแข็งแรงสูงจากการสปัน เสาเข็มเพื่อการต่อเติม เสริมฐานราก … Read More

1 26 27 28 29 30 31 32 75