เคมีภัณฑ์สำหรับยึดจับเหล็กเสริมที่ใช้ในงาน คสล (CHEMICAL ANCHOR STEEL)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อการออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง คอนกรีต (STRUCTURAL CONCRETE ENGINEERING DESIGN หรือ SCE) นะครับ เนื่องจากมีเพื่อนวิศวกรท่านหนึ่งของผมท่านหนึ่งได้สอบถามผมมาในอินบ็อกซ์เกี่ยวกับเรื่อง เคมีภัณฑ์สำหรับยึดจับเหล็กเสริมที่ใช้ในงาน คสล (CHEMICAL ANCHOR STEEL) โดยมีรายละเอียดพอจับใจความได้ว่า “ผมมีความจำเป็นต้องเลือกใช้งานเคมีภัณฑ์สำหรับยึดจับเหล็กเสริมที่ใช้ในงาน คสล จึงอยากจะสอบถามผมว่าเราจะมีวิธีการคำนวณและดูค่าจากในตารางคู่มือการใช้งานว่า … Read More

ภาษาสำหรับงานวิศวกรรม (ENGLISH FOR ENGINEERING WORK หรือ EEW)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ ภาษาสำหรับงานวิศวกรรม (ENGLISH FOR ENGINEERING WORK หรือ EEW) นะครับ วันนี้ผมจะมาให้คำแนะนำกับเพื่อนๆ ให้รู้จักกับความสำคัญของคำกริยาประเภท Verb to be โดยที่วันนี้ผมจะเน้นไปที่คำว่า is am และ are … Read More

เฉลยคำตอบในการสอบใบประกอบวิชาชีพในระดับภาคีวิศวกรที่ดำเนินการภายใต้การกำกับดูแลของสภาวิศวกร

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน พบกันอีกเช่นเคยในวันบ่ายจันทร์แบบนี้โดยที่หัวข้อในวันนี้ผมจะมาเฉลยคำตอบในการสอบใบประกอบวิชาชีพในระดับภาคีวิศวกรที่ดำเนินการภายใต้การกำกับดูแลของสภาวิศวกรนะครับ ในวันนี้จะเป็นข้อสอบในวิชา STRUCTURAL ANALYSIS นะครับ โดยที่ข้อสอบข้อนี้มีรายละเอียดของถามว่า ข้อที่ 35 โมเมนต์ภายในที่จุดรองรับ B มีค่าเท่ากับเท่าใด ? เฉลย สิ่งที่เราควรทำเมื่อเจอปัญหาแบบนี้ คือ เราต้องพยายามที่จะตั้งสติหลังจากที่อ่านโจทย์หรือปัญหาทีไ่ด้รับก่อนเสมอนะครับ เพราะ เราต้องไม่ลืมว่า ในการทำข้อสอบประเภทนี้เราจำเป็นต้องทำแข่งขันกับเวลา ดังนั้นโจทย์มักที่จะหลอกให้เราเกิดความ … Read More

การวิเคราะห์โครงสร้างด้วยวิธีและซอฟต์แวร์ทางไฟไนต์อีลีเมนต์ (STRUCTURAL ANALYSIS BY FINITE ELEMENTS ANALYSIS METHOD & SOFTWARE หรือ FEM)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การวิเคราะห์โครงสร้างด้วยวิธีและซอฟต์แวร์ทางไฟไนต์อีลีเมนต์ (STRUCTURAL ANALYSIS BY FINITE ELEMENTS ANALYSIS METHOD & SOFTWARE หรือ FEM) นะครับ เนื่องจากมีรุ่นพี่วิศวกรที่ผมรักและเคารพของผมท่านหนึ่งได้ทำการสอบถามผมเข้ามาที่หลังไมค์เกี่ยวกับซอฟต์แวร์ทางไฟไนต์อีลีเมนต์ว่า “ที่ตำแหน่งของ จุดต่อ แบบยึดหมุนที่สามารถเคลื่อนทีได้ในแนวดิ่ง (VERTICAL … Read More

การออกแบบวิศวกรรมงานดินและฐานราก (GEOTECHNICAL & FOUNDATION ENGINEERING DESIGN หรือ GFE)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบวิศวกรรมงานดินและฐานราก (GEOTECHNICAL & FOUNDATION ENGINEERING DESIGN หรือ GFE) นะครับ พบกันอีกครั้งหนึ่งในบ่ายวันเสาร์แบบนี้นะครับ และ เหมือนเช่นเคยนะครับ วันนี้ผมจะมีคำถามที่อยากจะขอเชิญชวนให้เพื่อนๆ นั้นได้มาร่วมสนุกตอบคำถามด้วยกันนะครับ จากรูปจะเห็นได้ว่า ผมมีฐานราก คสล อยู่ … Read More

วิธีการคิดคำนวณตามที่ได้ระบุเอาไว้ในกฎกระทรวง ฉบับที่ 6 (พศ 2527) ซึ่งออกตามพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 ข้อที่ 20 นั้นเป็นวิธีในการคิดคำนวณที่อ้างอิงมาจากทฤษฎีใด ?

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบวิศวกรรมงานดินและฐานราก (GEOTECHNICAL & FOUNDATION ENGINEERING DESIGN หรือ GFE) นะครับ หาเพื่อนๆ ยังพอที่จะจำได้เพื่อนๆ น่าที่จะทราบว่าจริงๆ แล้วทฤษฎีในการคำนวณการรับ นน ของเสาเข็มนั้นมีหลากหลายทฤษฎีมากๆ ดังนั้นทุกๆ ครั้งเวลาที่เพื่อนๆ จะทำการออกแบบขนาดกำลังการรับ … Read More

การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง คอนกรีต (STRUCTURAL CONCRETE ENGINEERING DESIGN หรือ SCE)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง คอนกรีต (STRUCTURAL CONCRETE ENGINEERING DESIGN หรือ SCE) นะครับ เนื่องจากที่ผ่านมาหลายๆ ครั้งนั้นผมเคยทำการคำนวณออกแบบโครงสร้างคาน คสล รับแรง (FLEXURAL RC BEAM) ดัดโดยวิธีกำลัง (STRENGTH … Read More

การทดสอบหากำลังอัดของคอนกรีต (CONCRETE COMPRESSIVE STRENGTH) ในโครงสร้างอาคารเดิม

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง คอนกรีต (STRUCTURAL CONCRETE ENGINEERING DESIGN หรือ SCE) นะครับ สืบเนื่องจากเมื่อ 2-3 วันก่อน มีเพื่อนวิศวกรของผมท่านหนึ่งได้มาปรึกษากับผมเรื่อง การทดสอบหากำลังอัดของคอนกรีต (CONCRETE COMPRESSIVE STRENGTH) ในโครงสร้างอาคารเดิม … Read More

เรียน วิชาแคลคูลัส ไปเพื่ออะไร ?

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ งานวิศวกรรมโครงสร้างทั่วไป (MISCELLANEOUS STRUCTURAL ENGINEERING หรือ MSE) นะครับ เมื่อเร็วๆ นี้ผมบังเอิญเดินผ่านไปได้ยินน้องๆ ที่เรียนในสาขาวิศวกรรมโยธาที่บางมดเค้านั่งคุยกันที่ใต้ตึก CB5 ว่าด้วยเรื่อง วิชาแคลคูลัส ว่าเรียนไปเพื่ออะไร ? ใครเรียนแล้วได้นำไปใช้ในชีวิตจริงๆ บ้าง ? จริงๆ … Read More

การคำนวณทางด้านกลศาสตร์โครงสร้าง (STRUCTURAL MECHANICS COMPUTATION หรือ SMC)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การคำนวณทางด้านกลศาสตร์โครงสร้าง (STRUCTURAL MECHANICS COMPUTATION หรือ SMC)นะครับ เนื่องจากเมื่อหลายวันก่อนผมได้โพสต์ไปเกี่ยวกับเรื่อง การคำนวณเพื่อวิเคราะห์โครงสร้าง (STRUCTURAL ANALYSIS) เพื่อที่จะหาค่าการเสียรูปที่ปลายของคาน (DISPLACEMENT) โดยในปัญหาข้อนี้ผมใช้ทฤษฎีที่ 2 ของคาสติเกลียโน (CASTIGLIANO’S 2ND THEOREM) วันนี้น้องท่านเดิมได้สอบถามผมมาว่า … Read More

1 25 26 27 28 29 30 31 75