กระบอกแก้วแสดงข้อมูลของชั้นดินที่ทำการเจาะทดสอบ

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้และวิธีในการอ่านข้อมูล ซึ่งจะรวมไปถึงการนำข้อมูลจากผลการทดสอบดินหรือ BORING LOG ไปใช้งานมาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ โดยที่ในวันนี้ผมจะขออนุญาตทำการแทรกเนื้อหานอกเรื่องจากเรื่องราวหลักๆ ที่เคยโพสต์อยู่กันสักหนึ่งโพสต์ ทั้งนี้ก็เพื่อที่จะได้ให้คำแนะนำและอธิบายถึงอุปกรณ์และเครื่องมืออย่างหนึ่งที่ถือได้ว่ามีประโยชน์มากๆ เมื่อเพื่อนๆ นั้นได้ดำเนินการทำการทดสอบดิน นั่นก็คือ กระบอกแก้วแสดงข้อมูลของชั้นดินที่ทำการเจาะทดสอบ นั่นเองนะครับ   จากรูปที่เห็นจะเป็น กระบอกแก้วที่แสดงข้อมูลของชั้นดินที่ได้จากการเจาะทดสอบ … Read More

ประเภทการเก็บตัวอย่างของดิน เมื่อได้ทำการเจาะสำรวจดินขึ้นมา

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้และวิธีในการอ่านข้อมูล ซึ่งจะรวมไปถึงการนำข้อมูลจากผลการทดสอบดินหรือ BORING LOG ไปใช้งานมาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ โดยที่ในวันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการพูดและอธิบายให้แก่เพื่อนๆ ได้รับทราบถึงเรื่อง ประเภทของการเก็บตัวอย่างของดิน เมื่อเราได้ทำการเจาะสำรวจดินขึ้นมาน่ะครับ   โดยที่การเก็บตัวอย่างของดินซึ่งได้จากการที่เรานั้นทำการเจาะสำรวจดินขึ้นมาจะมีอยู่ด้วยกัน 2 ลักษณะใหญ่ๆ ด้วยกันดังต่อไปนี้ครับ   ตัวอย่างของ … Read More

ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับสภาพของชั้นดินในสถานที่ ที่จะทำการก่อสร้าง

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้ทางด้านงานออกแบบที่เกี่ยวข้องกันกับการทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างเชิงพลศาสตร์ต่างๆ มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ โดยที่หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกับเรื่องๆ หนึ่งที่ถือได้ว่า มีผล และ มีความสำคัญ อย่างมากต่อการออกแบบให้อาคารหนึ่งๆ นั้นสามารถที่จะต้านทานต่อแรงกระทำจากแผ่นดินไหวได้ นั่นก็คือ ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับสภาพของชั้นดินในสถานที่ๆ จะทำการก่อสร้าง นั่นเองนะครับ   จากเหตุการณ์หลายๆ เหตุการณ์ในอดีตแสดงให้เราเห็นได้ว่า … Read More

การออกแบบโครงสร้าง เพื่อให้สามารถต้านทานต่อแรงกระทำจากแผ่นดินไหว

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้ทางด้านงานออกแบบที่เกี่ยวข้องกันกับการทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างเชิงพลศาสตร์ต่างๆ มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ โดยที่หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกับเรื่อง คำที่เรามักจะได้ยินอยู่บ่อยๆ เวลาที่เรามีความเกี่ยวข้องกันกับการออกแบบโครงสร้างเพื่อที่จะให้สามารถต้านทานต่อแรงกระทำจากแผ่นดินไหวได้นะครับ   เริ่มต้นจากคำๆ แรกก็คือคำว่า “คาบการสั่น” หรือ “PERIOD” ซึ่งจริงๆ แล้วคำว่า “คาบการสั่น” ก็คือ ช่วงเวลาของแกว่งตัวไปแกว่งตัวกลับไปมาครบ … Read More

เทคนิคการออกแบบต่อเติมโครงสร้างโดยใช้วิธีการ PRE-LOADING

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้ทางด้านงานออกแบบที่เกี่ยวข้องกันกับการทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างที่อยู่ เหนือพื้นดินขึ้นมา และ ใต้พื้นดินลงไป มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ โดยในวันนี้เนื้อหานั้นจะเกี่ยวข้องกับเทคนิคๆ หนึ่งที่ผมได้นำมาใช้ในงานต่อเติมโครงสร้างจริงๆ โดยที่เนื้อหานี้มีความน่าสนใจมากในระดับหนึ่งนั่นก็คือ เทคนิคในการออกแบบต่อเติมโครงสร้างโดยใช้วิธีการ PRE-LOADING ทั้งนี้ก็เพื่อที่เราจะอาศัยโครงสร้างเสาเข็มที่อาจจะมีความลึกไม่มาก กล่าวคือความลึกอาจจะไม่ถึงชั้นดินทราย แต่ ผลกระทบในเรื่องของการทรุดตัวนั้นมีน้อยกว่ากรณีที่ไม่ทำโดยอาศัยเทคนิควิธีการดังกล่าวนี้ โดยที่ก่อนอื่นผมจะขออนุญาตกล่าวนำถึงวิธีการและหลักการของเทคนิคๆ นี้ก่อนนะครับ … Read More

วิธีในอ่านข้อมูล รวมไปถึงการนำข้อมูล ผลการทดสอบดินหรือ BORING LOG ไปใช้งาน

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้และวิธีในการอ่านข้อมูล ซึ่งจะรวมไปถึงการนำข้อมูลจากผลการทดสอบดินหรือ BORING LOG ไปใช้งานมาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ   โดยที่ในวันนี้ผมจะขอทำการแทรกเนื้อหาการนำผลการทดสอบดินที่ผมไปพบมาจากการทำงานจริงๆ ของผมมาเล่าสู่กันฟังแก่เพื่อนๆ ก็แล้วกันนะครับ โครงการก่อสร้างแห่งนี้ตั้งอยู่ในบริเวณซอยของถนนรามคำแหง ซึ่งหากดูแบบหยาบๆ และผิวเผินแล้วก็อาจจะพบว่าสภาพของชั้นดินนั้นน่าที่จะมีความปกติเพราะดินเดิมนั้นเป็นดินที่มีอยู่เดิม และ จะมีส่วนดินใหม่ที่เปผ้นดินถมที่ผิวซึ่งมีความหนาประมาณ 1.5-2 ม … Read More

ปัญหาและเทคนิคในการทำงานก่อสร้างโครงสร้างประเภทต่างๆ

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ปัญหาและเทคนิคในการทำงานก่อสร้างโครงสร้างประเภทต่างๆ มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ โดยที่ในวันนี้ผมจะขออนุญาตพาเพื่อนๆ ทุกคนไปทำความรู้จักกันกับ ตำหนิของงานเชื่อมเหล็กรูปพรรณ หรือ WELDING DEFECT กันต่อจากโพสต์ในสัปดาห์ที่แล้วนะครับ   โดยที่ผมจะขออนุญาตมากล่าวถึง ลักษณะ และ สาเหตุ ของการเกิดร่องรอยการแตกร้าวประเภทต่างๆ ให้เพื่อนๆ … Read More

วิธีในการวิเคราะห์แรงแผ่นดินไหว หรือ SEISMIC ANALYSIS

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้ทางด้านงานออกแบบที่เกี่ยวข้องกันกับการทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างเชิงพลศาสตร์ต่างๆ มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ โดยที่หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกับเรื่อง วิธีในการวิเคราะห์แรงแผ่นดินไหว หรือ SEISMIC ANALYSIS นะครับ   หากจะให้อธิบายให้เข้าใจให้ง่ายๆ ในขันตอนนี้เราทำขึ้นเพื่อวิเคราะห์เพื่อหาระดับของผลตอบสนองต่างๆ ที่โครงสร้างของเรานั้นจะมีต่อแรงแผ่นดินไหวที่เข้ามากระทำต่ออาคารของเรานั่นเองนะครับ   หากทำการตั้งคำถามว่าเพราะเหตุใดเราถึงต้องสนใจค่าผลตอบสนองของโครงสร้าง ? หากจะอธิบายให้เข้าใจได้ง่ายๆ … Read More

การเตรียมตัวสอบ ใบประกอบวิชาชีพวิศวกรโยธา

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง การเตรียมตัวสอบเพื่อที่จะได้ใบประกอบวิชาชีพวิศวกรโยธา มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ โดยที่คำถามที่ผมได้นำมาฝากแก่เพื่อนๆ ในวันนี้จะอยู่ในแขนงวิชา THEORY OF STRUCTURES หรือ ทฤษฎีโครงสร้าง นะครับ   คำถามข้อนี้คือคำถามข้อที่ 17 โดยที่มีใจความของปัญหาข้อนี้มีดังนี้   จากโครง … Read More

เสาเข็มสปันไมโครไพล์ (Spun Micropile) เสาเข็มมาตรฐาน มอก. 397-2524 โดยภูมิสยาม ทางเลือกสำหรับงานต่อเติมบ้านที่ต้องการคุณภาพสูง

เสาเข็มสปันไมโครไพล์ (Spun Micropile) เสาเข็มมาตรฐาน มอก. 397-2524 โดยภูมิสยาม ทางเลือกสำหรับงานต่อเติมบ้านที่ต้องการคุณภาพสูง เสาเข็ม สปันไมโครไพล์ เสาเข็มเพื่อการต่อเติมหรือสร้างใหม่ เช่น ต่อทำครัว ต่อเติมข้างบ้าน เพื่อไม่ให้มีผลเสียเกิดขึ้นกับตัวบ้านในภายหลังแนะนำสปันไมโครไพล์แท้ภูมิสยาม เพราะเสาเข็มสปันไมโครไพล์ภูมิสยาม มีความมั่นคงแข็งแรงและคุณภาพสูงจากการสปัน ได้การรับรองมาตรฐาน มอก. 397-2524 … Read More

1 21 22 23 24 25 26 27 75