สรุปประเด็นเรื่องน้ำใต้ดิน

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้และวิธีในการอ่านข้อมูล ซึ่งจะรวมไปถึงการนำข้อมูลจากผลการทดสอบดินหรือ BORING LOG ไปใช้งานมาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ หลังจากที่เมื่อสัปดาห์ก่อนหน้านี้ผมได้พูดถึงเรื่องค่าความสามารถในการรับกำลังแบกทานของดินตามทฤษฎีของ TERZAGHI ให้เพื่อนๆ ได้มีโอกาสรับทราบกันไปแล้ว รวมถึงเมื่อวันเสาร์ที่ผ่านมาผมยังได้ทำการหยิบยกเอาประเด็นเรื่องผลของระดับน้ำใต้ดินที่มีต่อค่าความสามารถในการรับกำลังแบกทานของดินมาเป็นคำถามประจำสัปดาห์ให้แก่เพื่อนๆ เพื่อทำความเข้าใจเพิ่มเติมไปแล้วด้วย ดังนั้นในวันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการสรุปประเด็นเรื่องน้ำใต้ดินนี้โดยจะทำการแบ่งกรณีของน้ำใต้ดินนี้ออกเป็นกรณีๆ เพื่อให้เพื่อนๆ ทุกคนจะได้เข้าใจและนำไปใช้ในการคำนวณได้ถูกต้องนั่นเองครับ   เพราะฉะนั้นก่อนที่ผมจะเริ่มต้นทำการอธิบาย … Read More

ฐานรากตื้น หรือ SHALLOW FOUNDATION เกี่ยวกับ ค่าความสามารถในการรับกำลังแบกทานของดิน หรือ BEARING CAPACITY OF SOIL

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้และวิธีในการอ่านข้อมูล ซึ่งจะรวมไปถึงการนำข้อมูลจากผลการทดสอบดินหรือ BORING LOG ไปใช้งานมาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ หลังจากที่ก่อนหน้านี้ผมได้เคยนำเสนอและเกริ่นถึงเรื่อง ฐานรากตื้น หรือ SHALLOW FOUNDATION เกี่ยวกับ ค่าความสามารถในการรับกำลังแบกทานของดิน หรือ BEARING CAPACITY OF … Read More

ตัวอย่างการคำนวณในเรื่อง เหล็กเสริมต้านทานการแตกร้าว อันเนื่องมาจากการหดตัวที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิ

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน เนื่องจากเมื่อวานนี้ผมได้พูดถึงเรื่อง เหล็กเสริมต้านทานการแตกร้าวอันเนื่องมาจากการหดตัวที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิ ซึ่งถือได้ว่าเป็นเหล็กเสริมประเภทหนึ่งที่เราจำเป็นต้องทำการพิจารณาให้ต้องทำการเสริมอยู่ในแผ่นพื้นชนิดวางตัวอยู่บนคานที่เป็น แผ่นพื้นทางเดียว และ แผ่นพื้นสองทาง ให้แก่เพื่อนๆ ทุกๆ คนได้รับทราบกันไปนั้น ปรากฎว่ามีเพื่อนของผมท่านหนึ่งซึ่งติดตามอ่านบทความของผมได้ทักผมมาหลังไมค์ว่า อยากให้ผมได้ทำการยกตัวอย่างการคำนวณในเรื่องๆ นี้สักหน่อยเพื่อนๆ จะได้เกิดความเข้าใจและนึกภาพออกกัน ครั้นจะรอนำเอาคำถามข้อนี้ไปเป็นคำถามประจำสัปดาห์ก็คิดว่าจะไม่เหมาะเพราปัญหาข้อนี้จะมีความง่ายดายมากจนเกินไป ผมเลยตัดสินใจว่าจะขออนุญาตเพื่อนๆ นำตัวอย่างการคำนวณมาแสดงให้ได้ดูกันในวันนี้เสียเลยก็แล้วกัน ทั้งนี้จะได้ไม่เป็นการขาดตอนจากเมื่อวานด้วย โดยที่ปัญหาที่ผมสมมติขึ้นมานั้นมีรายละเอียดดังต่อไปนี้ครับ … Read More

วิธีในการคำนวณหาเหล็กเสริมในแผ่นพื้นชนิดวางตัวอยู่บนคานที่เป็น แผ่นพื้นทางเดียว และ แผ่นพื้นสองทาง

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้ทางด้านงานออกแบบที่เกี่ยวข้องกันกับการทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างที่อยู่ เหนือพื้นดินขึ้นมา และ ใต้พื้นดินลงไป มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการพูดถึงเรื่อง วิธีในการคำนวณหาเหล็กเสริมในแผ่นพื้นชนิดวางตัวอยู่บนคานที่เป็น แผ่นพื้นทางเดียว และ แผ่นพื้นสองทาง ให้แก่เพื่อนๆ ทุกๆ คนได้รับทราบกันนะครับ   โดยมากแล้วเหล็กเสริมในแผ่นพื้นมักจะถูกกำหนดในแบบวิศวกรรมโครงสร้างให้เป็น เหล็กตะแกรง … Read More

คานรับแรงดัด หรือ BEAM BENDING

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน พบกันอีกครั้งหนึ่งในบ่ายวันจันทร์แบบนี้ วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง การเตรียมตัวสอบเพื่อที่จะได้ใบประกอบวิชาชีพวิศวกรโยธา มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ ขณะนี้ผมกำลังพาเพื่อนๆ ทบทวนเนื้อหาอยู่ภายในหัวข้อ การนำเอาวิธีการที่มีชื่อเรียกว่า วิธีการงานน้อยที่สุด หรือชื่อในภาษาอังกฤษว่า LEAST WORK METHOD ซึ่งถือได้ว่าวิธีการนี้เป็น CLASSICAL METHOD วิธีการหนึ่งเลยก็ว่าได้ โดยที่วิธีการนี้จะเป็นการต่อยอดนำเอาวิธี … Read More

ปัญหาและเทคนิคในการทำงานก่อสร้างโครงสร้างประเภทต่างๆ

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ปัญหาและเทคนิคในการทำงานก่อสร้างโครงสร้างประเภทต่างๆ มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ ปัญหาในวันนี้ยังคงเกี่ยวข้องกับเนื้อหาเมื่อสัปดาห์ที่แล้วนั่นก็คือเรื่องความเชื่อถือได้ของผลจากการวิเคราะห์โครงสร้างโดยการคำนวณด้วยมือและการใช้ซอฟต์แวร์ทาง FINITE ELEMENT นะครับ อย่างที่ผมได้เรียนไปเมื่อสัปดาห์ที่แล้วว่าหากเพื่อนๆ มีความต้องการที่จะวิเคราะห์ให้ได้คำตอบที่ถูกต้องแบบแม่นตรงแบบเป๊ะๆ เลยโดยการคำนวณด้วยมือ เพื่อนๆ ก็จำเป็นที่จะต้องทำการวิเคราะห์โดยรวมผลทุกๆ อย่างที่เกิดขึ้นในโครงสร้างจริงๆ เข้าไปในขั้นตอนของการวิเคราะห์ด้วย มิเช่นนั้นผลก็จะเกิดค่าความคลาดเคลื่อนออกไปเหมือนกับที่ผมได้ยกตัวอย่างให้ดูกันในสัปดาห์ที่แล้ว ในทำนองเดียวกันหากเราต้องการคำตอบที่แม่นยำที่เกิดขึ้นภายในโครงสร้างจริงๆ จากการใช้ซอฟต์แวร์ทาง … Read More

ความลึกของหลุมเจาะเพื่อทำการทดสอบดินสำหรับฐานรากแบบลึก (DEEP FOUNDATION)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้และวิธีในการอ่านข้อมูล ซึ่งจะรวมไปถึงการนำข้อมูลจากผลการทดสอบดินหรือ BORING LOG ไปใช้งานมาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการพูดและอธิบายถึงเรื่อง ความลึกของหลุมเจาะเพื่อทำการทดสอบดินสำหรับฐานรากแบบลึก (DEEP FOUNDATION) กันต่อก็แล้วกันแต่ก่อนอื่นผมจะขออนุญาตเท้าความก่อนสักเล็กน้อยว่าเป็นที่ทราบกันดีก่อนหน้านี้ว่าหากเราจะทำการแบ่งประเภทของฐานรากที่ทำหน้าที่รองรับน้ำหนักบรรทุกต่างๆ จากอาคารเพื่อถ่ายต่อลงไปสู่ดินเราจะสามารถทำการจำแนกออกได้เป็น 2 ประเภทหลักๆ ได้แก่   1.ฐานรากแบบตื้น … Read More

วิธีในการประยุกต์ใช้วิธีการ CASTIGLIANO’S 2ND THEOREM

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน พบกันอีกครั้งหนึ่งในบ่ายวันจันทร์แบบนี้ วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง การเตรียมตัวสอบเพื่อที่จะได้ใบประกอบวิชาชีพวิศวกรโยธา มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการอธิบายวิธีในการประยุกต์ใช้วิธีการ CASTIGLIANO’S 2ND THEOREM สำหรับกรณีที่เรามีความต้องการที่จะทำการวิเคราะห์หาค่าระยะของการโก่งตัวในโครงสร้างโครงข้อหมุนแบบ 2 มิติ หรือว่า PLANE TRUSS แก่เพื่อนๆ โดยที่เพื่อนๆ สามารถที่จะดูรูปตัวอย่างประกอบคำอธิบายของผมได้นะครับ … Read More

หลักในการออกแบบ แผ่นพื้นชนิดวางตัวอยู่บนคาน และ แผ่นพื้นชนิดวางตัวอยู่บนเสา

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้ทางด้านงานออกแบบที่เกี่ยวข้องกันกับการทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างที่อยู่ เหนือพื้นดินขึ้นมา และ ใต้พื้นดินลงไป มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ ก่อนที่จะเริ่มต้นทำการอธิบายถึงหลักในการออกแบบ แผ่นพื้นชนิดวางตัวอยู่บนคาน และ แผ่นพื้นชนิดวางตัวอยู่บนเสา นั้นวันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการกล่าวนำให้เพื่อนๆ ได้มีความรู้พื้นฐานกันสักเล็กน้อยเกี่ยวกับเรื่องชนิดของโครงสร้างที่มีชื่อว่า พื้น นี้กันสักเล็กน้อยก่อนนะครับ   จริงๆ แล้วแผ่นพื้น … Read More

ความรู้ทางด้านงานออกแบบที่เกี่ยวข้องกันกับการทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างที่อยู่ เหนือพื้นดินขึ้นมา และ ใต้พื้นดินลงไป

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้ทางด้านงานออกแบบที่เกี่ยวข้องกันกับการทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างที่อยู่ เหนือพื้นดินขึ้นมา และ ใต้พื้นดินลงไป มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ พอดีว่ามีเพื่อนท่านหนึ่งได้เข้ามาปรารภและสอบถามกับผมว่า ตามปกติแล้วเพื่อนของผมท่านนี้มักจะออกแบบพื้น คสล แบบมีคานรองรับแต่มาวันนี้เพิ่งจะมีโอกาสได้ทำการออกแบบพื้น คสล แบบไม่มีคานรองรับบ้าง พอเปิดหนังสือดูจึงเกิดความมึนงงและสับสนเป็นอย่างมาก เลยทำให้เกิดความฉงนสงสัยขึ้นมาว่า เพราะเหตุใดสมมติฐานและวิธีในการออกแบบแผ่นพื้นแบบที่มีและไม่มีคานรองรับจึงมีรายละเอียดและวิธีการที่ค่อนข้างจะแตกต่างกันอย่างสิ้นเชิงเลย ?   … Read More

1 19 20 21 22 23 24 25 75