การเสริมเหล็กเสริมพิเศษ ไว้ในโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็ก

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ปัญหาและเทคนิคในการทำงานก่อสร้างโครงสร้างประเภทต่างๆ มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ   วันนี้ผมจะนำเอารูปตัวอย่างของรายละเอียดและวิธีการในการเสริมเหล็กในงานโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็กจากงานจริงๆ ที่ผมมีโอกาสได้ไปประสบพบเจอมาในการทำงานจริงๆ มาฝากให้แก่เพื่อนๆ ทุกคนได้รับทราบเป็นข้อมูลเอาไว้ โดยที่รายละเอียดในวันนี้ก็คือ การเสริมเหล็กเสริมพิเศษเอาไว้ในโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็กสำหรับกรณีที่มีการฝังท่อเอาไว้โดยที่ให้ผ่านโครงสร้างส่วนนั้นๆ โดยมีเหตุจำเป็น (รูปที่1) (รูปที่2) (รูปที่3) หากเพื่อนๆ ดูรูปที่ 1 … Read More

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับขั้นตอนและวิธีในการก่อสร้างโครงสร้างDiaphragmWall

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้ทางด้านงานออกแบบที่เกี่ยวข้องกันกับการทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างที่อยู่ เหนือพื้นดินขึ้นมา และ ใต้พื้นดินลงไป มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ วันนี้ผมจะขออนุญาตมาพูดถึงรายละเอียดที่มีความเกี่ยวข้องกันกับเจ้าโครงสร้าง DIAPHRAGM WALL นี้เพิ่มเติมกันต่ออีกสักโพสต์ก็แล้วกันนั่นก็คือ กรรมวิธีและขั้นตอนโดยสังเขปในการก่อสร้างโครงสร้าง DIAPHRAGM WALL แบบโดยตรงภายในชั้นดินนั่นเองครับ   เนื่องจากการก่อสร้างโครงสร้าง DIAPHRAGM … Read More

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเรื่องโครงสร้าง DiaphragmWall

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้ทางด้านงานออกแบบที่เกี่ยวข้องกันกับการทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างที่อยู่ เหนือพื้นดินขึ้นมา และ ใต้พื้นดินลงไป มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการอธิบายถึงระบบโครงสร้างระบบหนึ่งที่พวกเรานิยมนำมาใช้ในการก่อสร้างส่วนหนึ่งของอาคารที่จะมีการตั้งอยู่ใต้ระดับดินลงไปมากๆ เช่น ที่จอดรถใต้ดิน หรือ อาคารรถไฟฟ้าใต้ดิน เป็นต้น ระบบนั้นก็คือ ระบบกำแพงรับแรงดัน หรือที่พวกเรานิยมเรียกกันในภาษาอังกฤษว่า DIAPHRAGM WALL … Read More

ความรู้และวิธีในการอ่านข้อมูล ซึ่งจะรวมไปถึงการนำข้อมูลจากผลการทดสอบดินหรือ BORING LOG ไปใช้งาน

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้และวิธีในการอ่านข้อมูล ซึ่งจะรวมไปถึงการนำข้อมูลจากผลการทดสอบดินหรือ BORING LOG ไปใช้งานมาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ เนื่องจากมีคำถามฝากเข้ามาจากเพื่อนของผมท่านหนึ่งซึ่งมีความเกี่ยวข้องกับงานดิน ผมจึงจำเป็นที่จะต้องจะขออนุญาตใช้พื้นที่ในการโพสต์ของวันนี้ในการตอบคำถามข้อนี้ โดยที่ใจความของปัญหานั้นมีอยู่ว่า   “หากว่าผมได้ทำการทดสอบชั้นดินในสถานที่ก่อสร้างเป็นที่เรียบร้อยแล้วแต่ผลกลับปรากฏว่า ลักษณะของชั้นดินส่วนใหญ่ในสถานที่ก่อสร้างของผมนั้นจะเป็นดินเหนียวอ่อนที่ค่อนข้างที่จะมีคุณภาพทางด้านกำลังที่ค่อนข้างแย่ พูดง่ายๆ ก็คือดินจะมีกำลังความสามารถในการรับน้ำหนักที่ค่อนข้างจะต่ำมากๆ เลย ผมเลยอยากจะรบกวนขอคำชี้แนะหน่อยได้มั้ยครับว่าผมควรจะทำเช่นใดดี ?” … Read More

ถึงวิธีในการคำนวณหาค่าความแข็งแกร่งของดิน

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้และวิธีในการอ่านข้อมูล ซึ่งจะรวมไปถึงการนำข้อมูลจากผลการทดสอบดินหรือ BORING LOG ไปใช้งานมาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ เนื่องจากในเมื่อสัปดาห์ที่ผ่านมานั้นผมได้ทำการโพสต์เพื่อที่จะแชร์ความรู้และตอบคำถามให้แก่เพื่อนของผมท่านหนึ่งที่ได้ทำการสอบถามเข้ามาว่า   “ผมกำลังจะทำการวิเคราะห์และออกแบบโครงสร้างอาคารโรงงานในจังหวัดทางภาคอีสาน โดยที่ต้องการจะใช้ระบบฐานรากแบบตื้นหรือ SHALLOW FOUNDATION โดยที่ผมตั้งใจที่จะทำการจำลองให้จุดรองรับนั้นเป็นแบบที่สามารถเสียรูปได้หรือ FLEXIBLE SUPPORT ดังนั้นผมจึงอยากที่จะทำการกำหนดให้จุดรองรับนั้นมีสภาพเป็นสปริงแบบยืดหยุ่นหรือ ELASTIC … Read More

ปัญหาของการที่ดินเกิดการกัดเซาะหายไปในการทำงานก่อสร้างเสาเข็ม ที่มีกลไกการรับแรงเป็นแบบเสาเข็มแรงฝืด

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ปัญหาและเทคนิคในการทำงานก่อสร้างโครงสร้างประเภทต่างๆ มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ โดยที่ผมจะมายกตัวอย่างถึงปัญหางานวิศวกรรมโครงสร้างที่พบได้จริงๆ ในชีวิตประจำวันของเราๆ ซึ่งในวันนี้ผมจะหยิบยกเอากรณีของปัญหาต่อเนื่องจากปัญหาในสัปดาห์ที่แล้วนะครับ   โดยที่ประเด็นในวันนี้จะมีอยู่ด้วยกัน 2 ประเด็นหลักๆ ด้วยกัน   ประเด็นแรก เมื่อเกิดเหตุการณ์เหมือนเช่นในรูปนั่นก็คือ ดินนั้นเกิดการทรุดตัวลงไปมากจนทำให้เสาเข็มที่อยู่ใต้ฐานรากนั้นลอยโผล่ขึ้นมาจนลอยตัวอยู่ระดับเหนือดินที่ทรุดตัวลงไป จนในที่สุดก็จะไม่มีดินที่จะคอยทำหน้าที่ในการประคองพื้นที่รอบๆ ทางด้านข้างของตัวโครงสร้างเสาเข็มอีกต่อไป … Read More

ปัญหาการใช้งานฐานรากที่มีการก่อสร้างโดยใช้ เสาเข็มเพียงต้นเดียว หรือ SINGLE PILE

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ปัญหาและเทคนิคในการทำงานก่อสร้างโครงสร้างประเภทต่างๆ มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ   โดยที่ผมจะมายกตัวอย่างถึงปัญหางานวิศวกรรมโครงสร้างที่พบได้จริงๆ ในชีวิตประจำวันของเราๆ ซึ่งในวันนี้ผมจะหยิบยกเอากรณีของปัญหาการใช้งานฐานรากที่มีการก่อสร้างโดยใช้ เสาเข็มเพียงต้นเดียว หรือ SINGLE PILE นั่นเองนะครับ   สืบเนื่องจากเมื่อไม่นานมานี้ผมมีโอกาสได้พาครอบครัวไปออกกำลังกายที่สวนสาธารณะแห่งหนึ่ง ซึ่งพอวิ่งไปรอบๆ บึงซึ่งมีลักษณะเป็นอ่างเก็บน้ำขนาดใหญ่ที่ได้มีการขุดเอาไว้ผมก็ไปพบกับอาคารชั้นเดียวอาคารหนึ่งซึ่งสร้างเอาไว้ค่อนข้างสูงจากระดับดิน ซึ่งก็น่าจะเกิดจากการออกแบบของสถาปนิกที่มีความต้องการที่จะให้ระดับใช้งานของอาคารหลังนี้อยู่เหนือระดับน้ำที่อาจจะมีระดับที่สูงมากๆ … Read More

ความรู้และวิธีการอ่านข้อมูล ซึ่งจะรวมไปถึงการนำข้อมูลจากผลการทดสอบดินหรือ BORING LOG ไปใช้งาน

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้และวิธีในการอ่านข้อมูล ซึ่งจะรวมไปถึงการนำข้อมูลจากผลการทดสอบดินหรือ BORING LOG ไปใช้งานมาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ เนื่องจากในเมื่อสัปดาห์ที่ผ่านมานั้นผมได้ทำการโพสต์เพื่อที่จะแชร์ความรู้และตอบคำถามให้แก่เพื่อนของผมท่านหนึ่งที่ได้ทำการสอบถามเข้ามาว่า   “ผมกำลังจะทำการวิเคราะห์และออกแบบโครงสร้างอาคารโรงงานในจังหวัดทางภาคอีสาน โดยที่ต้องการจะใช้ระบบฐานรากแบบตื้นหรือ SHALLOW FOUNDATION โดยที่ผมตั้งใจที่จะทำการจำลองให้จุดรองรับนั้นเป็นแบบที่สามารถเสียรูปได้หรือ FLEXIBLE SUPPORT ดังนั้นผมจึงอยากที่จะทำการกำหนดให้จุดรองรับนั้นมีสภาพเป็นสปริงแบบยืดหยุ่นหรือ ELASTIC … Read More

วิธีในการวิเคราะห์โครงสร้างด้วยวิธีที่ทันสมัยใหม่ หรือ ADVANCED STRUCTURAL ANALYSIS METHOD

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน พบกันอีกครั้งหนึ่งในบ่ายวันจันทร์แบบนี้ วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง การเตรียมตัวสอบเพื่อที่จะได้ใบประกอบวิชาชีพวิศวกรโยธา มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ วันนี้ผมจะขออนุญาตมาพูดถึงเรื่อง วิธีในการวิเคราะห์โครงสร้างด้วยวิธีการที่มีความทันสมัยใหม่ หรือ ADVANCED STRUCTURAL ANALYSIS METHOD โดยวิธีการนี้ก็คือ วิธีการวิเคราะห์ด้วยเมตริกซ์ หรือ MATRIX ANALYSIS METHOD … Read More

วิธีในการวิเคราะห์โครงสร้างด้วยวิธีการที่มีความทันสมัยใหม่ หรือ ADVANCED STRUCTURAL ANALYSIS METHOD

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน พบกันอีกครั้งหนึ่งในบ่ายวันจันทร์แบบนี้ วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง การเตรียมตัวสอบเพื่อที่จะได้ใบประกอบวิชาชีพวิศวกรโยธา มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ หลังจากที่ผมได้พาเพื่อนๆ รับทราบและรับชมกันไปแล้วถึงเรื่องเนื้อหาต่างๆ ที่มีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่อง ปัญหาในการวิเคราะห์โครงสร้างที่มีลักษณะอย่างง่ายที่เราสามารถจะทำการวิเคราะห์โครงสร้างได้ด้วยหลักการทางสถิตยศาสตร์ โดยเริ่มต้นตั้งแต่ระบบโครงสร้างพื้นฐาน การเขียนแผนภาพของแรงภายในต่างๆ เช่น แผนภาพขงแรงระทำตามแนวแกน แผนภาพของแรงเฉือน แผนภาพของแรงดัด เป็นต้น การวิเคราะห์หาค่าการเสียรูป ณ … Read More

1 17 18 19 20 21 22 23 75