การดูแลรักษาจุดรองรับของโครงสร้างสะพาน

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันอังคารแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เพื่อคุณผู้หญิง” นะครับ สืบเนื่องจากเมื่อในสัปดาห์ที่แล้วนั้นผมได้โพสต์ให้ความรู้กับเพื่อนๆ ว่าสำหรับจุดรองรับประเภท เช่น ประเภท ELASTOMERIC BEARING ประเภท ROLLER BEARING และประเภท ROCKER BEARING … Read More

ความรู้เรื่องRollerBearingและRockerBearing

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันอังคารแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เพื่อคุณผู้หญิง” นะครับ สืบเนื่องจากเมื่อในสัปดาห์ที่แล้วนั้นผมได้ทำการตอบคำถามของน้องผู้หญิงท่านหนึ่งไปโดยที่ใจความของคำถามนั้นมีดังต่อไปนี้ครับ “ทำไมตรงบริเวณรอยต่อระหว่างเสาตอม่อกับคาน คอร เหมือนในรูปๆ นี้จึงมักที่จะมีการทำเป็นช่องว่างเอาไว้คะ เหมือนเอาอะไรมาหนุนเอาไว้ ไม่ทราบว่าจุดประสงค์นั้นเพื่อทำให้จุดรองรับนี้เป็นแบบ ROLLER หรือเปล่าคะ ? และเหตุใดเค้าจึงต้องยกขึ้นนิดนึงด้วยคะ ?” … Read More

วิธีการแก้ปัญหา โครงสร้างพื้นที่มีการทรุดตัวไม่เท่ากัน

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันพฤหัสบดีแบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” นะครับ หลังจากที่ในหลายๆ ครั้งที่ผ่านมานั้นผมเคยได้หยิบยกและนำเอากรณีตัวอย่างของการแก้ไขเหตุการณ์ที่โครงสร้างส่วนบนนั้นเกิดการทรุดตัวที่แตกต่างกันให้กับเพื่อนๆ ไปบ้างแล้ว ในวันนี้ผมจะขออนุญาตนำเอากรณีตัวอย่างของของการแก้ไขเหตุการณ์ที่โครงสร้างส่วนล่างนั้นเกิดการทรุดตัวที่แตกต่างกันบ้าง ซึ่งวิธีในวันนี้เป็นเพียงวิธีการง่ายๆ ใช้งบประมาณไม่เยอะเท่าใดนัก เราจะมาดูกันซิว่าการแก้ไขด้วยวิธีการนี้มีข้อดีหรือข้อด้อยอย่างไรนะครับ วิธีการที่ว่าก็คือ การปล่อยให้โครงสร้างส่วนล่างหรือจะเรียกว่าพื้นก็ได้ ให้เกิดการทรุดตัวแบบแตกต่างกันไปเลยโดยที่จะไม่ทำการซ่อมแซมโครงสร้างทั้งส่วนใหม่และเก่านี้เลย … Read More

ปัญหาการเลือกวิธีการก่อสร้างต่อเติมหลังคา

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันเสาร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ถาม-ตอบชวนสนุก” กันนะครับ โดยที่ในวันนี้ประเด็นที่ผมได้เลือกนำเอามาตั้งเป็นคำถามประจำสัปดาห์นั้นจะมีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่อง ความรู้ดีๆ เพื่อคุณผู้หญิง ที่ผมได้ทำการโพสต์ถึงในสัปดาห์ที่ผ่านมาและก็เหมือนเช่นเคยผมคงจะต้องออกตัวอีกครั้งหนึ่งว่า คำถามประจำสัปดาห์นี้สุดแสนจะง่ายมากๆๆๆๆๆๆๆๆๆ โดยที่โจทย์ในวันนี้ก็คือ เพื่อนๆ มีบ้านซึ่งทำจากโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็กอยู่หลังหนึ่งซึ่งเป็นมรดกตกทอดมาจากคุณพ่อคุณแม่ ซึ่งบ้านหลังนี้ก็มีอายุมากกว่า 30 ปีแล้ว หากเพื่อนๆ มีความต้องการที่จะทำการก่อสร้างต่อเติมส่วนที่เป็นโครงสร้างหลังคาให้มีการขยายออกไปจากส่วนที่เป็นอาคารเดิมของเพื่อนๆ … Read More

ตอกเสาเข็มสปันไมโครไพล์ (Spun Micro Pile) และไอไมโครไพล์ (เสาเข็มไอ)(I Micropile) ตอกเพื่อป้องกันการทรุดตัวของส่วนต่อเติม

ตอกเสาเข็มสปันไมโครไพล์ (Spun Micro Pile) และไอไมโครไพล์ (I Micropile) ตอกเพื่อป้องกันการทรุดตัวของส่วนต่อเติม

โครงสร้างราวกันตก

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันพุธแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง” นะครับ หากเพื่อนๆ มีโอกาสได้เดินทางไปตามท้องถนนด้วยรถยนต์ ไม่ว่าจะเป็นการเดินทางในประเทศไทยก็ดีหรือในต่างประเทศก็ดี เวลาที่เราต้องเดินทางขึ้นไปบนสะพานหรือทางยกระดับต่างๆ เพื่อนๆ เคยสังเกตกันบ้างหรือไม่ว่า ราวกันตกที่ถูกทำการติดตั้งลงไปเพื่อทำหน้าที่ในการป้องกันการตกของรถยนต์นั้นจะสามารถแบ่งออกได้เป็นทั้งหมดกี่ประเภทด้วยกัน ? ราวกันตกที่ว่านี้ถือได้ว่าเป็นชิ้นส่วนโครงสร้างอย่างหนึ่งก็ได้เพราะชิ้นส่วนๆ นี้จะต้องทำหน้าที่รับแรงกระแทกจากตัวรถยนต์หรือยานพาหนะใดๆ ก็ตามที่อาจจะมีการสัญจรไปมาบนท้องถนน ซึ่งหากจะทำการจำแนกประเภทของโครงสร้างราวกันตกจริงๆ … Read More

การเปลี่ยนแปลงรายละเอียดในโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็ก

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันพุธแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง” นะครับ ตามที่ผมได้ทำการโพสต์เอาไว้เมื่อสัปดาห์ที่แล้วว่า ในกรณีที่ทางผู้รับจ้างทำงานก่อสร้างนั้นมีความต้องการที่จะเปลี่ยนชั้นคุณภาพของเหล็กเสริมนั้น เราไม่สามารถที่จะอาศัยวิธีในการเทียบสัดส่วนระหว่างค่ากำลังของคอนกรีตและเหล็กเสริมโดยตรงได้ ซึ่งการเปลี่ยนจะสามารถทำได้ก็ต่อเมื่อได้การทำการออกแบบชิ้นส่วนโครงสร้างนั้นๆ ใหม่เท่านั้น ซึ่งก็มีเพื่อนๆ หลายคนของผมสอบถามเข้ามาในอินบ็อกซ์ส่วนตัวของผมมาว่า “ถ้าไม่สามารถอาศัยวิธีในการเทียบสัดส่วนระหว่างค่ากำลังของคอนกรีตและเหล็กเสริมโดยตรงได้แล้วเหตุใดพวกเค้าจึงเห็นว่าวิศวกรผู้ทำหน้าที่ในการควบคุมการทำงานในสถานที่ก่อสร้างของพวกเค้าทำการคำนวณหาเหล็กเสริมใหม่โดยการเทียบสัดส่วนโดยตรงเลยละ แบบนี้เค้าทำผิดใช่หรือไม่ครับ ?” ผมขอตอบแบบนี้นะ สาเหตุที่เพื่อนๆ … Read More

ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางของเสาเข็มมีผลต่อการคำนวณหาระยะห่างระหว่างโครงสร้างเสาเข็มมากที่สุด

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันพฤหัสบดีแบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” นะครับ ประเด็นที่ผมจะขออนุญาตหยิบยกนำเอามาพูดในวันนี้ก็คือสำหรับในกรณีของฐานรากที่มีการถ่ายน้ำหนักลงไปสู่ดินโดยการใช้โครงสร้างเสาเข็มนั้นถึงแม้ว่าเมื่อในสัปดาห์ก่อนที่ผมได้ให้คำอธิบายและทำการสรุปกับเพื่อนๆ ว่า ในเรื่องของระยะห่างระหว่างโครงสร้างเสาเข็มมากที่สุดนั้นจะไม่ได้ขึ้นอยู่กับขนาดของตัวโครงสร้างเสาเข็มเหมือนกับกรณีที่เรากำลังพิจารณาในเรื่องระยะห่างระหว่างโครงสร้างเสาเข็มน้อยที่สุดแต่จะไปขึ้นอยู่กับอัตราส่วนระหว่างระยะความห่างต่อระยะความหนาแทน แต่ ก็ใช่ว่าขนาดของตัวโครงสร้างเสาเข็มนั้นจะถูกตัดออกไปโดยไม่ถูกนำเอามาพิจารณาใช้ในการคำนวณหาค่าของระยะห่างระหว่างโครงสร้างเสาเข็มมากที่สุดเสียทีเดียว เพราะเหตุใดผมจึงกล่าวเช่นนั้นครับ ?   หากเพื่อนๆ จำได้ … Read More

วิธีพิจารณาระยะห่างระหว่างโครงสร้างเสาเข็ม

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันพฤหัสบดีแบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” นะครับ วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการตอบคำถามที่ได้ถูกสอบถามเข้ามาโดยน้องวิศวกรท่านหนึ่งผ่านทางช่องทางอินบ็อกซ์ส่วนตัวของผมเองว่า “ผมเคยอ่านบทความที่ผมเคยเขียนลงในเพจว่า เราควรที่จะกำหนดให้ใช้ระยะห่างระหว่างโครงสร้างเสาเข็มให้มีระยะที่ไม่น้อยกว่า 2.5 เท่าของขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางของโครงสร้างเสาเข็มเพื่อมิให้เสาเข็มนั้นเกิดแรงเค้นซ้อนทับ ซึ่งผมสงสัยว่าแล้วมีระยะห่างระหว่างโครงสร้างเสาเข็มมากที่สุดกำหนดหรือระบุเอาไว้มาตรฐานใดๆ บ้างหรือไม่ครับ ?”   คำถามข้อนี้เป็นคำถามที่ดีคำถามหนึ่งเลยนะเพราะว่าคนส่วนใหญ่จะทราบดีอยู่แล้วว่าระยะห่างระหว่างโครงสร้างเสาเข็มน้อยที่สุดนั้นเป็นเท่าใดแต่กลับไม่ค่อยมีคนทราบว่าระยะห่างระหว่างโครงสร้างเสาเข็มมากที่สุดนั้นเป็นเท่าใดกันแน่ … Read More

เสาเข็มสปันไมโครไพล์ Spun Micro Pile และไอไมโครไพล์ I Micropile เสาเข็มเพื่อการต่อเติมป้องกันการทรุดตัว เหมาะสำหรับต่อเติมบ้านในพื้นที่แคบ หรือพื้นที่จำกัด

เสาเข็มสปันไมโครไพล์ Spun Micro Pile และไอไมโครไพล์ I Micropile เสาเข็มเพื่อการต่อเติมป้องกันการทรุดตัว เหมาะสำหรับต่อเติมบ้านในพื้นที่แคบ หรือพื้นที่จำกัด ต่อเติมบ้านอย่างไรให้ไม่ทรุด? เลือกใช้เสาเข็มที่ป้องกันการทรุดตัวได้อย่างตรงจุดด้วย เสาเข็มสปันไมโครไพล์ และไอไมโครไพล์ หมดกังวลเรื่องการสั่นสะเทือน เพราะขณะตอกแรงสั่นสะเทือนน้อยมาก และยังสามารถตอกชิดกำแพงหรือผนังได้ 50 ซม. จากเซ็นเตอร์เสาเข็ม … Read More

1 11 12 13 14 15 16 17 75