หากเสาเข็มในไซต์งานของเรามีความยาวของตัวเสาเข็มที่แตกต่างกัน

หากเสาเข็มในไซต์งานของเรามีความยาวของตัวเสาเข็มที่แตกต่างกัน และ เมื่อดูจากผลการทดสอบดินจะพบว่าชั้นดินที่ปลายเสาเข็มนั้นวางอยู่บนชั้นดินคนละชนิดกัน เราควรที่จะเชื่อถือ ผลจากการตอกเสาเข็ม หรือ ผลการทดสอบตัวเสาเข็ม และ เราจะมีวิธีในการคิดและตัดสินใจใช้ความยาวของเสาเข็มนี้อย่างไร ? ผมต้องขอขยายความตรงนี้นิดหนึ่งก่อนนะครับ หากเราปล่อยให้ปลายของเสาเข็มนั้นวางอยู่บนชั้นดินคนละชั้นกัน และ ทำการควบคุมกระบวนการๆ ตอกเสาเข็มให้ได้จำนวน BLOW COUNT ที่ได้รับการออกแบบไว้แต่เพียงอย่างเดียว โดยไม่ได้มีการคำนึงถึงผลจากการ ทดสอบชั้นดิน … Read More

รูปแบบของการวางแนวเหล็กเสริมในฐานราก

รูปแบบของการวางแนวเหล็กเสริมในฐานราก โพสต์ก่อนหน้านี้ของผมได้นำเสนอวิธีการเสริม เหล็กนอน (MAIN REIFORCEMENT STEEL) ในฐานราก F2 F3 F4 และ F5 ที่ได้รับการออกแบบโดย BALANCE METHOD และ STRUT AND TIE METHOD … Read More

สภาพของเสาเข็มแบบนี้ถือว่าเป็นที่ยอมรับได้หรือไม่

สภาพของเสาเข็มแบบนี้ถือว่าเป็นที่ยอมรับได้หรือไม่ รูปที่ 1 เป็น ตัวอย่าง ของกรณีนี้กันนะครับ เพื่อนๆ จะสามารถสังเกตเห็นได้ว่ามีช่องว่างเล็กๆ ที่บริเวณรอยต่อระหว่างท่อนเสาเข็มในรูปได้ด้วยตาเปล่าเลยนะครับ ก่อนอื่นผมขอเริ่มต้นอธิบายกับเพื่อนๆ แบบนี้ก็แล้วกันนะครับ เพื่อนๆ น่าจะทราบกันดีอยู่แล้วนะครับว่าวัสดุหลักที่ถูกนำมาใช้ผลิตตัวโครงสร้างเสาเข็มนั้น คือ คอนกรีต ซึ่งคุณสมบัติประจำตัวอย่างหนึ่งของคอนกรีตที่เราจะพบเห็นได้ในทุกๆ ที่เลยก็คือ การหดตัว หรือ ที่เราเรียกกันว่า … Read More

การติดตั้งเสาเข็มลงไปในชั้นดิน

การติดตั้งเสาเข็มลงไปในชั้นดิน เราจะมาดูรูปประกอบไปพร้อมกับคำอธิบายของผมด้วยนะครับ หากในรูปที่ 1 และ 2 เป็นรูปแสดงการติดตั้งเสาเข็มลงไปในชั้นดิน โดยที่ผมขอ REMARK ไว้ตรงนี้นะครับว่ากลไกการรับกำลังของเสาเข็ม 2 ต้นในรูปเหล่านี้นั้นเป็นเสาเข็มที่มีรูปแบบการรับกำลังโดยอาศัย SKIN FRICTION เป็นหลักนะครับ โดยที่ขนาดของเส้นผ่าศูนย์กลางของเสาเข็มต้นซ้ายและขวามมือมีค่าเท่ากับ D1 และ D2 ตามลำดับ … Read More

วิธีในการแก้ไขงานวิศวกรรมฐานราก

วิธีในการแก้ไขงานวิศวกรรมฐานราก กรณีปัญหามีอยู่ว่า หากทำการตอกเสาเข็มในฐานรากที่ใช้เสาเข็มจำนวน 2 ต้น (F2) แล้วเสาเข็มต้นใดต้นหนึ่งเกิดเสียหายไป จะทำการแก้ไขโดยการหมุนฐานรากในระนาบ 90 องศา ได้เลยหรือไม่ครับ ? ผมขอตอบแบบนี้นะครับ คือ ได้ และ ไม่ได้ ครับ งง มั้ยครับว่าเหตุใดผมจึงตอบเช่นนี้ … Read More

การระบุหน่วยในรายการคำนวณ

การระบุหน่วยในรายการคำนวณ สืบเนื่องจากรุ่นน้องท่านนี้ไปเห็นรายการคำนวณการออกแบบโครงสร้างของผม และ ไปเห็นว่า หน่วยที่ผมใช้นั้นแปลกๆ คือ ผมตั้งใจที่จะเขียนตัวเลขในพจน์นั้นเป็น แรง (FORCE) ที่มีหน่วยเป็น กก (kg หรือ kilogram) ผมจึงเขียนตัวย่อในรายการคำนวณว่า kgf หรือ kilogram-force น้องท่านนี้จึงได้ถามกับผมว่า เหตุใดผมจึงต้องเขียนเช่นนี้ … Read More

การออกแบบ โครงสร้างเคเบิ้ล

การออกแบบ โครงสร้างเคเบิ้ล เรามาเริ่มต้นดูรูปประกอบกันก่อนนะครับ ในรูปจะเป็นรูปเคเบิ้ลที่ถูกขึงอยู่ระหว่างจุด X และ X’ ซึ่งระดับของตำแหน่ง 2 ตำแหน่งนี้มีค่าเท่ากันทำให้เมื่อเคเบิ้ลนี้เกิดการเสียรูปไปตามแรงโน้มถ่วงจนมีตำแหน่งที่เคเบิ้ลนั้นเกิดการหย่อนตัวลงไปต่ำที่สุด ณ จุดกึ่งกลางของเคเบิ้ลพอดี โดยมีระยะการเสียรูปนี้เท่ากับ 5000 mm หรือ 5 m ระยะห่างระหว่าง 2 … Read More

ค่าสัดส่วนความปลอดภัย หรือ SAFETY FACTOR

ค่าสัดส่วนความปลอดภัย หรือ SAFETY FACTOR เวลาที่เราทำการออกแบบค่าน้ำหนักบรรทุกปลอดภัยของเสาเข็มนั้น ค่า SAFETY FACTOR ที่เรานิยมใช้โดยทั่วๆ ไปนั้นเท่ากับ 2.5 หรือ น้อยที่สุดเท่ากับ 2 นั้น ทางผู้ออกแบบเค้ามีเกณฑ์อย่างไรที่ใช้ในการประเมินและพิจารณาให้ค่าๆ นี้ออกมาเป็นดังนี้ครับ ? วันนี้ผมจะนำกระบวนการและเกณฑ์ในการพิจารณาถึงค่า SAFETY … Read More

การคำนวณหาค่า p นี้ในการแทนค่าหาค่า σ max ในโครงสร้างคานรับแรงดัด

การคำนวณหาค่า p นี้ในการแทนค่าหาค่า σ max ในโครงสร้างคานรับแรงดัด ในหลายๆ ครั้งเพื่อนๆ มักไม่ได้นำความรู้ รวมไปถึงค่าต่างๆ ในหัวข้อนี้ไปใช้ในการวิเคราะห์ความเค้นในคานกันสักเท่าใดเลยนะครับ เพราะ เพื่อนหลายๆ คนมักจะมีความเข้าใจว่าในการหาค่าความเค้นในคานเราจำเป็นที่จะต้องทำการวิเคราะห์หาแรงปฏิกิริยาของจุดรองรับ หาค่าโมเมนต์ดัด และ จากนั้นเราจึงจะสามารถทราบได้ว่าคานนั้นจะมีความเค้นดัดเกิดขึ้นในหน้าตัดเป็นค่าเท่าใด เอาเป็นว่าวันนี้ผมจะมาให้คำแนะนำกับเพื่อนๆ ก็แล้วกันนะครับว่าการหาความเค้นดัดในคานนั้นเราไม่จำเป็นที่จะต้องทำเช่นนั้นก็ได้นะครับ เรามาเริ่มต้นดูรูปที่ผมแนบมาด้วยประกอบคำอธิบายของผมกันเลยดีกว่านะครับ … Read More

เทคนิคในการ วิเคราะห์ และ แก้ไข งานวิศวกรรมฐานราก

เทคนิคในการ วิเคราะห์ และ แก้ไข งานวิศวกรรมฐานราก ในรูปปัญหาที่พบเจอ คือ ฐานรากใช้ระบบ เสาเข็มเหล็ก ร่วมกันกับ เสาเข็มคอนกรีต แถมฐานรากยังเป็นฐานรากลอยอีกด้วย โดยที่เราไม่สามารถทำการตัดหัวเข็มลงไปได้เนื่องจากข้อจำกัดทางด้านงานสถาปัตยกรรมและการทำงานที่หน้างานนะครับ โดยปกติฐานรากที่มีการใช้งานกันตามปกตินั้นเราจะทำฐานรากให้จมอยู่ใต้ดิน ทั้งนี้เพราะว่า เวลาที่เราทำการใช้งานเสาเข็ม เราจะตั้งสมมติฐานว่าว่าเสาเข็มนั้นถูกยึดรั้งทางด้านข้างไว้ด้วยมวลดิน ทำให้สำหรับกรณีของฐานรากลอยนั้นเราจำเป็นจะต้องคำนึงถึงว่า เสาเข็มจริงๆ ในตัวฐานรากจะสามารถรับ … Read More

1 2 3 4 5 6